กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3501
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-04-10T08:26:33Z
dc.date.available2019-04-10T08:26:33Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3501
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาเทคโนโลยีแช่แข็งน้ำเชื้อปลาด้วยน้ำแข็งแห้งสำหรับใช้ในโรงเพาะเลี้ยงสัตว์น้้า ได้ศึกษาผลของสารละลายบัฟเฟอร์ สารไครโอโพรเทคแทนท์ อัตราการลดอุณหภูมิ และอัตราการละลายที่มีต่อคุณภาพน้ำเชื้อที่แช่แข็งด้วยน้ำแข็งแห้ง โดยนำน้ำเชื้อปลาตะเพียนขาวมาผสมกับนำน้ำยาบัฟเฟอร์และสารไครโอโพรเทคแทนท์ชนิดต่าง ๆ และพัฒนาวิธีการแช่แข็งน้ำเชื้อด้วย การใช้น้ำแข็งแห้งก่อนนำไปเก็บรักษาในไนโตรเจนเหลวแล้วนำมาทำการละลาย พบว่าการแช่แข็งน้ำเชื้อปลาตะเพียนขาวในหลอดฟางขนาด 0.25 มิลลิลิตรด้วยการใช้สารละลาย Calcium-free Hank’s Balanced Salt Solution (Ca-F HBSS) ร่วมกับ 10% DMSO โดยการนำหลอดฟางแช่ลงในน้ำแข็งแห้งบดละเอียดโดยตรง มีผลทำให้คุณภาพสเปิร์มหลังการละลายต่ำกว่าน้ำเชื้อสด แต่การแช่แข็งน้ำเชื้อในหลอดฟางที่ใช้วัสดุห่อหุ้มโดยเฉพาะการนำหลอดสายไฟฟ้ามาหุ้มหลอดฟางเพื่อแช่แข็งน้ำเชื้อด้วยน้ำแข็งแห้ง ได้น้ำเชื้อแช่แข็งหลังการละลายมีคุณภาพไม่แตกต่างกับน้ำเชื้อสด โดยระยะเวลาการแช่แข็งน้ำเชื้อในน้ำแข็งแห้งตั้งแต่ 10-30 นาที ไม่มีผลต่อคุณภาพน้ำเชื้อหลัง การละลาย และการละลายน้ำเชื้อแช่แข็งที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ทำให้น้ำเชื้อหลังการละลาย มีคุณภาพดี การใช้น้ำแข็งแห้งเพื่อแช่แข็งน้ำเชื้อปลาทำได้ง่าย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectน้ำเชื้อ - - การเก็บและรักษาth_TH
dc.subjectน้ำเชื้อแช่แข็งth_TH
dc.subjectปลา - - การขยายพันธุ์th_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการพัฒนาเทคโนโลยีแช่แข็งน้ำเชื้อปลา ด้วยน้ำแข็งแห้งสำหรับใช้ในโรงเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of fish sperm cryopreservation program using dry ice for the hatcheryen
dc.typeResearchen
dc.author.emailverapong@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailsubunti@buu.ac.thth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeThe research project entitled “Development of fish sperm cryopreservation program using dry ice for the hatchery” was aimed to investigate the effects of extenders, cryoprotectants, cooling rates and thawing rates on sperm quality of fish sperm frozen by dry ice. Fish sperm were diluted with various extenders and cryoprotectants and sperm cryopreservation protocols were developed based on freezing with dry ice prior to cryostorage. Sperm diluted with Calcium-free Hank’s Balanced Salt Solution (Ca-F HBSS) and 10% dimethylsulfoxide (DMSO) in 0.25 mL French straws and frozen with crushed dry ice had post-thawed sperm quality lower than that of fresh milt. Post-thawed sperm diluted in French straws surrounded by power cable prior to frozen by dry ice had sperm quality comparable with that of fresh milt. Duration of freezing sperm in dry ice between 10-30 min was not affected on post-thawed sperm quality. Thawing of sperm at 30C resulted in good post-thawed sperm quality. Freezing of fish sperm by dried ice is easy to perform and can be applied in aquacultureen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2562_047.pdf1.72 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น