กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3489
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจตุภัทร เมฆพายัพ
dc.contributor.authorกิดาการ สายธนู
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-04-07T03:53:04Z
dc.date.available2019-04-07T03:53:04Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3489
dc.description.abstractขนาดของพื้นที่ปลูกอ้อย ปริมาณอ้อยส่งเข้าหีบ ราคาอ้อยเฉลี่ย อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่่าสุด ปริมาณน้ำฝนโดยรวม จำนวนวันที่ฝนตก และปริมาณน้ำฝนสูงสุด เป็นตัวแปร 8 ตัวที่มีประโยชน์และมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งซึ่งตัวแปรเหล่านี้จะถูกวัดและตรวจสอบตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึงปี พ.ศ. 2557 เพื่อพยากรณ์ผลผลิตอ้อยในบริเวณภาคตะวันออกของประเทศไทยด้วยเทคนิคข่ายงานระบบประสาทเทียม (ANN) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าตัวแบบข่ายงานระบบประสาทเทียมที่มีสมรรถนะดีที่สุดในการพยากรณ์ผลผลิตอ้อยในบริเวณภาคตะวันออกของประเทศไทยคือตัวแบบข่ายงานระบบประสาทเทียมอย่างง่ายที่ประกอบด้วยตัวแปรอินพุท 8 ตัว โหนดของชั้นซ่อนซึ่งมีอยู่เพียงชั้นเดียวจำนวน 3 โหนด และโหนดของชั้นเอาท์พุท จำนวน 1 โหนด (MLP 8-3-1) ซึ่งเห็นได้จากรากของค่าคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย (RMSE) จากทั้งชุดข้อมูลส่าหรับการสร้างตัวแบบและชุดข้อมูลส่าหรับ การตรวจสอบความถูกต้องของตัวแบบมีค่าน้อยที่สุดth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectอ้อย -- การผลิต -- พยากรณ์th_TH
dc.subjectอ้อย -- ไทย (ภาคตะวันออก) -- พยากรณ์th_TH
dc.subjectพยากรณ์การเกษตรth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการพยากรณ์ผลผลิตอ้อยในบริเวณภาคตะวันออกของประเทศไทยด้วย เทคนิค ANNth_TH
dc.title.alternativeForecasting Sugar Cane Yield in the Eastern Area of Thailand with ANN Techniqueen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailjatupat@buu.ac.th
dc.author.emailksaithan@buu.ac.th
dc.year2560th_TH
dc.description.abstractalternativeSize of sugar cane cultivated area, quantity of sugar cane delivered to the chest, average sugar cane price, maximum temperature, minimum temperature, overall rainfall, number of rainy days and maximum rainfall are the eight significantly useful variables measured and investigated since 2002 to 2014 to forecast sugar cane yield in the eastern area of Thailand with artificial neural network (ANN) technique. The study results display the best performance ANN in forecasting of sugar cane yield in the eastern area of Thailand is the simple ANN consisted of 8 input variables, 3 nodes in a hidden layer and 1 output node (MLP 8-3-1) as seeing of the minimum root mean square error (RMSE) for both of training and validation data seten
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2562_034.pdf1.21 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น