กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3473
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | จิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส | |
dc.contributor.author | นุชนาถ แก้วมาตร | |
dc.contributor.author | ภาคิณี เดชชัยยศ | |
dc.contributor.author | หทัยชนก เผ่าวิริยะ | |
dc.contributor.author | ศรวิษฐ์ บุญประชุม | |
dc.contributor.author | สุรชาติ นันตา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-04-04T04:02:29Z | |
dc.date.available | 2019-04-04T04:02:29Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3473 | |
dc.description.abstract | การดูแลที่สำคัญในเยาวชนผู้ใช้สารเสพติดในระยะฟื้นฟู คือการเพิ่มความเข้มแข็งและแรงจูงใจ ภายในเพื่อป้องกันการกลับไปใช้สารเสพติดซ้ำ การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกลุ่มบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจต่อการมองโลกทางบวกและความตั้งใจในการเลิกยาเสพติดของเยาวชนที่ใช้สารเอมเฟตามีน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนที่เข้าร่วมบำบัดฟื้นฟูจากยาเสพติดในโรงเรียนวิวัฒน์พลเมือง กองทัพเรือ ๒ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี จำนวน 48 คน ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ โดยสุ่มนักเรียนเข้ากลุ่มทดลอง จำนวน 24 คน และกลุ่มควบคุม 24 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมกลุ่มบำบัดเสริมสร้างแรงจูงใจรายบุคคลเพื่อเสริมสร้างการมองโลกทางบวกและความตั้งใจในการเลิกยาเสพติดและโปรแกรมบำาบัดฟื้นฟูยาเสพติดตามปกติ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับโปรแกรมบำบัดฟื้นฟูยาเสพติดตามปกติกลุ่มบำบัดใช้เวลา 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามการมองโลกทางบวก และความตั้งใจในการเลิกยาเสพติด ซึ่งได้ค่าความเชื่อมั่น .77 และ .85 ตามลำดับ เก็บข้อมูลระยะก่อนและหลังการทดลองเสร็จสิ้น และระยะติดตามผลหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำา (Two-way repeated measurement ANOVA) ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. เยาวชนที่ใช้สารแอมเฟตามีนในกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มบำบัดฯ มีคะแนนเฉลี่ย ความตั้งใจในการเลิกยาเสพติดและการมองโลกทางบวกในระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือนแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. เยาวชนที่ใช้สารแอมเฟตามีนในกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มบำบัดฯ มีคะแนนเฉลี่ย ความตั้งใจในการเลิกยาเสพติดในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลองเสร็จสิ้นทันทีและระยะติดตามผล 1 เดือนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันทีกับระยะติดตามผล 1 เดือนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. เยาวชนที่ใช้สารแอมเฟตามีนในกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มบำบัดฯ มีคะแนนเฉลี่ยการ มองโลกทางบวกในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลองเสร็จสิ้นทันทีและระยะติดตามผล 1 เดือนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนี้ มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง สามารถนำโปรแกรมการบำบัดนี้ ไปใช้เพื่อบำบัดเยาวชนที่ใช้สารเสพติดเพื่อเสริมสร้างการมองโลกทางบวกและความตั้งใจในการเลิกยาเสพติด | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ ได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัยจากงบประมาณรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ เลขที่สัญญา 11/2559 | th_TH |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ยาเสพติด | th_TH |
dc.subject | ยาเสพติดกับเยาวชน | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมกลุ่มบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจต่อการมองโลกทางบวกและความตั้งใจในการเลิกยาเสพติดของเยาวชนที่ใช้สารเอมเฟตามีน | th_TH |
dc.title.alternative | The Effectiveness of Motivational Enhancement Group Therapy Program on Optimism and Intention to Drug Abstinence among Youth with Amphetamine Abuse | en |
dc.type | Research | en |
dc.author.email | jinjuthatawan@gmail.com | |
dc.author.email | nutchana@buu.ac.th | |
dc.author.email | padaw1741@hotmail.com | |
dc.author.email | hathai_ns@hotmail.com | |
dc.year | 2560 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The substantial care for youth with substance abuse in recovering phase is enhancing personal strength and intrinsic motivation in order for relapse prevention. This quasi-experimental study was to examine the effectiveness of motivational enhancement group therapy program on optimism and intention to drug abstinence among youths with amphetamine abuse. Forty eight participants from the rehabilitation treatment at Wiwatphonlamuang School,Thai Royal Navy in Chonburi Province, Thailand were recruited and randomly selected to participate in experimental group and control group. Twenty four participants in the experimental group participated Motivational Enhancement Therapy for Developing Optimism and Intention to Drug Abstinence, and both experimental and control group attended the routine psychosocial rehabilitation program. The group therapy was carried on once a week for 6 weeks.The Life Orientation Test and Intention to Drug Abstinence questionnaires were applied for data collection before and after participation, then four weeks follow up. Descriptive statistics and Two-way repeated measurement ANOVA were used for data analysis. The results revealed as follows: 1. The mean scores of intention to drug abstinence and optimism between youths in experimental and control group at post-test and 1 month follow-up were significantly different at .05 2. In experimental group, the mean scores of intention to drug abstinence at pretest, post-test, and 1 month follow up were significantly different at .001, but there were not significantly different between mean scores at post-test and 1 month follow up. 3. In experimental group, the mean scores of optimism at pre-test, post-test, and 1 month follow up were not significantly different. The results suggest that nurses and health care providers could apply this program to promote intention to drug abstinence and optimism in youth with substance abuse | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2562_014.pdf | 2.61 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น