กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3471
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศุภสิทธิ์ เลิศบัวสิน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2019-04-03T14:20:39Z
dc.date.available2019-04-03T14:20:39Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3471
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและวิเคราะห์จำนวนแรงงานและอุปทานแรงงานใน พื้นที่เขตภาคตะวันออกในปัจจุบัน เพื่อศึกษาและวิเคราะห์แนวโน้มความต้องการแรงงาน อุปทาน แรงงาน และความจำเป็นในการจ้างแรงงานต่างด้าวในพื้นที่เขตภาคตะวนัออกในช่วงปีพ.ศ. 2561- 2565 เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะด้านนโยบายการสร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการมาลงทุน ในพื้นที่เขตภาคตะวันออก นโยบายการวางแผนกำลังแรงงาน ความจำเป็นในการจ้างแรงงานต่างด้าวการพัฒนา ศักยภาพแรงงาน การคุ้มครองและหลักประกันทางสังคมในพื้นที่เขตภาคตะวันออก ให้มีศักยภาพ สูงสุดและเกิดความยั่งยืน โดยวิจัยครั้งนี้ใช้ ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ ในการออกแบบงานวิจัย (Research Design) เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) โดยเชิงปริมาณใช้ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ในการวิเคราะห์เป็นข้อมูลทุติยภูมิประเภทอนุกรมเวลา (Time Series) รายปีระหว่างปี พ.ศ. 2550-2559 รวมระยะเวลา 10 ปี และ เชิงคุณภาพ ใช้คำส ำคัญ (Keyword) เป็นเครื่องชี้นนำการสัมภาษณ์โดยสัมภาษณ์โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)โดยใชก้ลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการภาคการผลิตตะวันออก จำนวน 15 คน เอเจนซี่ (Agency) จำนวน 3 คน สหภาพแรงงานภาคตะวันออก จำนวน 1 คน กรมจัดหาแรงงาน จำนวน 1 คน ผลการศึกษาเชิงปริมาณพบว่า การประมาณการสมการในรูปแบบ Cobb Douglas Production Function มีค่าสัมประสิทธิ์ของสต๊อกทุนสุทธิ คือค่าความยืดหยุ่นของปัจจัยทุน มีค่าเท่ากับ 1.124 และปัจจัยแรงงาน มีค่าเท่ากับ -.010 โดยที่ค่าความยืดหยุ่นของปัจจัยทุนมีค่ามากกว่าค่าความยืดหยุ่นของปัจจัยแรงงาน ซึ่งหมายถึง การเพิ่มปัจจยัทุนจะส่งผลให้ผลผลิตมวลรวมเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ และผลการศึกษาเชิงคุณภาพพบว่า แรงงานคนไทยจะพิจารณา อย่างละเอียดในการเลือกเข้าทำงานบริษัทใดบริษัทหนึ่ง เช่น มีรายได้เท่าไร หากวุฒิสูงขั้นปรับฐานเงินเดือนหรือไม่ สวัสดิการดีหรือไม่ ฯลฯ ซึ่งแตกต่างจากแรงงานต่างด้าวจะมองเพียงเรื่องรายได้อย่างเดียวขอเพียงได้รับรายได้มากกว่าประเทศตนเองก็จะตัดสินใจมาทำงาน ซึ่งพอคนในประเทศรู้ว่า มาทำงานที่ไทยได้เงินมากกว่าก็กลายเป็นแรงจูงใจในการเข้ามาทำงานในประเทศไทยกัน มากยิ่งขึ้นทำให้ 2-3 ปีที่ผ่านมามีแรงงานต่างด้าวเข้ามาอย่างมหาศาลth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (เพิ่มเติม) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothen
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectแรงงาน -- ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectสาขาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleโครงการศึกษาวิจัยความต้องการแรงงานในพื้นที่เขตภาคตะวันออก ใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565)th_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailsupasit@buu.ac.thth_TH
dc.year2560th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2562_017.pdf1.77 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น