กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3440
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอภิชาติ เมฆบังวัน
dc.contributor.authorสมุทร ชำนาญ
dc.contributor.authorสมโภชน์ อเนกสุข
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:29Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3440
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จตามมาตรฐานสากลของผู้บริหารการศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตจังหวัดภาคเหนือและตรวจสอบความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ผู้บริหารการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ในเขตจังหวัดภาคเหนือจำนวน 462 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมานค่า 5 ระดับของลิเคิร์ท สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปหาค่าสถิติพื้นฐานและค่าสัมประสิทธิสหพันธ์ ส่วนการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเส้นและการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันใช้โปรแกรมสถิติขั้นสูง ผลการวิจัยพบว่า ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จตามมาตฐานสากลของผู้บริหารการศึกษาระดับอุดมศึกษา ในเขตจังหวัดภาคเหนือได้รับอิทธิพลจากปัจจัยวิสัยทัศน์มากที่สุด โดยส่งอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลทางอ้อมผ่านหลักการบริหารและภาวะผู้นำ และการสื่อสาร ส่วนปัจจัยด้านหลักการบริหารมีอิทธิพลส่งผลกระทบน้อยที่สุด การตรวจสอบความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า โมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยมีค่า X2 = 435.63, df = 231, P = 0.00, RMSEA = 0.04th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา - - ไทยth_TH
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา - - การบริหารth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารงานของผู้บริหารการศึกษาระดับอุดมศึกษา ในเขตจังหวัดภาคเหนือth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume9
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research aimed to study the Relative Cause Model of Factors Effecting Managerial Success of the Higher Education Administrator in Northern Province. And to inspect the relevance with empirical data. The sample composed of 426 administrators from state university at higher education level in Northern Province which selected by stratified random sampling method. Research tool was 5 scale linker type questionnaires. The data were analyzed by descriptive statistic using computer program and verified factor analysis was used advanced statistic program The research finding found that the relative cause of factor that affected the success of administrators as higher education level in Northern Province was influenced by vison factor as higher level which effected directly and indirectly to management communication was the second and third influenced factors respectively for management principles factor was influenced less level. The inspection relevance with empirical data indicated that the relative cause line model was significantly fitted to the empirical data the statistic value of model was as follow: X2 = 435.63, df = 231, P = 0.00, RMSEA = 0.04en
dc.journalวารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of educational administration Burapha University.9
dc.page131-144.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
eduman9n2p131-144.pdf1.49 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น