กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3430
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorดวงใจ วัฒนสินธุ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:28Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:28Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3430
dc.description.abstractภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพจิตที่สาคัญของประชากรทั่วโลก และ เป็นปัญหาทางด้านสุขภาพจิตที่สำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อตัววัยรุ่น ครอบครัว และสังคม บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอหลักฐานเชิงประจักษ์ซึ่งได้จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาระบบการป้องกันภาวะซึมเศร้าที่มีประสิทธิภาพสาหรับวัยรุ่นในประเทศไทย หลักฐานเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่าการป้องกัน ภาวะซึมเศร้าที่มีประสิทธิภาพควรเริ่มตั้งแต่ในระยะเริ่มแรกก่อนมีอาการ โดยการจัดกิจกรรมที่ลดปัจจัยเสี่ยง และเพิ่มปัจจัยปกป้อง โปรแกรมการป้องกันภาวะซึมเศร้าส่วนใหญ่มีพื้นฐานแนวคิดมาจากการบำบัดด้วยการปรับความคิดและพฤติกรรม หรือการบำบัดด้วยสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ซึ่งผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมเหล่านี้สามารถลดอาการซึมเศร้าในวัยรุ่นทั่วไป กลุ่มเสี่ยง และวัยรุ่นที่มีภาวะซึมเศร้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อค้นพบดังกล่าวเป็นข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนาระบบการป้องกันภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นไทย พยาบาลควรเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการเริ่มต้นดาเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า ได้แก่ การประเมินภาวะซึมเศร้าอย่างครอบคลุม การให้ความรู้ และการฝึกทักษะชีวิต นอกจากนี้พยาบาลยังควรเป็นผู้ประสานความร่วมมือระหว่างวัยรุ่น ครอบครัว โรงเรียน ผู้ให้บริการด้านสุขภาพ และชุมชนในการป้องกันภาวะซึมเศร้าอย่างประสิทธิภาพth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth
dc.subjectความซึมเศร้าในวัยรุ่นth_TH
dc.subjectวัยรุ่น - - สุขภาพจิตth_TH
dc.subjectโรคซึมเศร้า - - การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.titleการป้องกันภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น: จากหลักฐานเชิงประจักษ์สู่การปฏิบัติth_TH
dc.title.alternativePrevention of adolescent depression: From evidence to practiceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume24
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeDepression in adolescents is a worldwide mental health problem. It affects adolescents themselves, their families, and societies. This article presents evidences obtained from literature reviews pertinent to depression in adolescents. These evidences can be used to develop effective program in order to prevent depression among this group. Empirical evidence shows that effective prevention of depression should start from an early stage by placing an emphasis on activities that help reduce risk factors and increase protective factors. From the reviews, most of current prevention programs are conducted based on the cognitive behavior therapy or interpersonal therapy. These existing programs can effectively reduce depressive symptoms among the general, high risk, and depressed adolescents. The empirical findings mentioned thus far, help generate basic knowledge for further development of the programs which help prevent depression in Thai adolescents. Nurses should play important role in initiating activities aimed at preventing depression. These activities should be started at early stage. Examples of such activities include comprehensive screening for depression, providing education and protective life skill training. To effectively prevent depression among adolescents, nurses should cooperate with adolescents, their families, schools, health care providers, and communities.en
dc.journalวารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of faculty of nursing Burapha University
dc.page1-12.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
nus24n1p1-12.pdf324.07 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น