กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3387
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสมุทร ชำนาญ
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ลิลา
dc.contributor.authorปาริชาต ปรียาโชติ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:24Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:24Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3387
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการบริหารโรงเรียนเอกชน กรณีศึกษา โรงเรียนปรียาโชติ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสร้างรูปแบบ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้บริหารระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์ด้านการจัดการความรู้จำนวน 5 คน ซึ่งได้ จากการคัดเลือกแบบเจาะจงโดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก การพัฒนารูปแบบโดยการวิจัยปฏิบัติการแบบมี ส่วนร่วมโดยนำร่างรูปแบบมาทดลองใช้ในโรงเรียนปรียาโชติ เป็นเวลา 1 ภาคเรียน และการตรวจสอบความสมบูรณ์ของรุปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการกำหนดนโยบายการวางแผนการบริหารโรงเรียนเอกชน ผู้เชี่ยวชาญจากนักวิชาการด้านกรจัดการความรู้ เเละผู้เชี่ยวชาญจากผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนเอกชนจำนวน 9 คน ด้วยเทคนิคการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการบริหารโรงเรียนเอกชน กรณีศึกษา โรงเรียนปรียาโชติ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ประกอบด้วย 1) ขั้นให้ความรู้ด้านการจัดการวามรู้ (Knowledge Managrment) ความรู้ที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์บริบทเดิม การกำหนดวิสัยทัศน์เป้าหมายของงานร่วมกัน 2) ดำเนินการใช้กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Managrment Process) 7 ขั้นตอนได้แก่ การระบุความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลกลั่นกรองความรู้ การเข้าถึงความรู้ การเเบ่งปันเเลกเปลี่ยนความรู้ และการเรียนรู้ ซึ่งทั้ง 7 ขั้นตอน เป็นการดำเนินการภายใต้การบริหารงานโรงเรียนเอกชนตามแผนปฏิบัติงาน โครงการ กิจกรรมซึ่งนำไปสู่นวัตกรรม ความพึงพอใจและสังคมแห่งการเรียนรู้ รวมถึงการเผยเเพร่นวัตกรรมต่อไป โดยขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน จะมีการนำเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้อย่างเหมาะสมมาใช้ 3) ปัจจัยเกื้อหนุนต่อการจัดการความรู้ ได้แก่ ภาวะผู้นำและทีมงานกลยุทธ์ เทคโนโลยี บรรยากาศในองค์กรและการสื่อสารจนเกิดผลสำเร็จ เกิดความพึงพอใจและสังคมแห่งการเรียนรู้ ส่งผลให้เกิดเเรงบันดาลใจที่จะพัฒนาการบริหารจัดการงานอื่นให้ประสบผลสำเร็จกลับเข้าสู่วัฏจักรเดิม โดยเริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์บริบทเดิมเป็นไปตามรูปแบบการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการบริหารโรงเรียนเอกชนต่อไปth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.subjectการเรียนรู้องค์การth_TH
dc.subjectโรงเรียนเอกชน - - การบริหารth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleรูปแบบการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการบริหารโรงเรียนเอกชน: กรณีศึกษา โรงเรียนปรียาโชติ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeModel of knowledge management for private school administration development: A case study of Preeyachoti school, Takhli, Nakornsawanen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume9
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the study was to develop the model of knowledge managrment for private school administration development : a case study of Preeyachot school, Takhli, Nakhonsawan. The sample used to construct the model inciuded 5 educational management experts, derived by means of purposive sampling. They were in depth interviewed to response to the managerial question. The model was implemented in Peeyachot school, Takhli, Nakhonsawan by teachers and school administrators with PAR (Participatory Action Research) for one semester. The model was tested the appropriateness of the model with educational administration experts by using thecfocus group technique. The results revealed that thecmodel of knowledge management fr private school administration development : a case study of Preeyachot school, Takhli, Nakhonsawan consists of Knowledge managrment deployment step, existing context analysis, collaborative visioning and objective setting and used knowledge managrment process 7 steps; 1) knowledge identification. 2) knowledge creation and acquisition. 3) knowledge organization. 4) knowledge codification and refinment. 5) knowledge access. 6) knowledge sharing. 7) learning. These 7 steps wereoperated under PAR (Participation Action Research) until objective achievement. This result will lead to innovation, satisfaction and learning society including innovation distribution. The appropriated knowledge management tools and infiuencing management factors were used in knowledge management proces. The satisfaction and learning society will bring the inspiration to staffs for work development and improvement lead to work achievement. The cycle will be started again from the exsting context analysis that means the model of knowledge mananagement for private school administration development will be repeted as well.en
dc.journalวารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of educational administration Burapha University.
dc.page47-62.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
eduman9n2p47-62.pdf1.85 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น