กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3382
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภารดี อนันต์นาวี | |
dc.contributor.author | พฤฑฒิพล พฤฑฒิกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:24Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:24Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3382 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการสื่อสารของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดขนาดใหญ่พิเศษที่ประสบความสำเร็จ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยฝช้เทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีการเลือกกลุ่มตัวอย่างเชิงทฤษฎี (Theoretical Sampling) เก็บข้อมูลโดยใช้วิธีการศึกษาเอกสาร (Content Analysis) โดยใช้การสัมภาษณ์ระดับลึก (In depth Interview) การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) การสังเกตและจดบันทึก (Observation and Field - note) ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการสื่อสารของผู้บริหารโรงเรียนนั้นเป็นรูปแบบการสื่อสารเชิงพฤติกรรมแบบผสมผสาน ในลักษณะ ได้แก่ การสื่อสารแบบมีชีวิตชีวา (Spirited) ผู้บริหารใช้ในการสื่อสารเพื่อบริหารจัดการโรงเรียน การสื่อสารแบบเห็นอกเห็นใจ (Considerate) ในสถานการณ์ที่มีสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์หรือการสร้างบรรยากาศ และการสื่อสารแบบมีระเบียบวินัย (Systematic) ซึ่งผู้บริหารนำมาใช้เฉพาะเพื่อการชี้แจง ตรวจสอบ และย้ำเตือนความจำผ่านสื่อลักษณะต่าง ๆ มีโครงสร้างและกระบวนการสื่อสารภายในโรงเรียนในลักษณะของการสื่อสารแบบลงล่าง (Down-ward Communication) จากฝ่ายบริหารลงมาสู่ฝ่ายปฏิบัติงาน มีตัวเชื่อม (Liaison) ทำหน้าที่ส่งผ่านข่าวสารไปสู่ผู้รักษาประตู (Gatekeeper) ซึ่งเป็นผู้นำการกระจายข้อมูลข่าวสาร ภายในฝ่ายงานในรูปแบบของการสื่อสารแบบเถาองุ่น (Grapevine) และมีการสรุปการชี้แจงคำสั่งกลับขึ้นไปสู่ฝ่ายบริหารด้วยรูปแบบดารสื่อสารแบบล่างขึ้นบน (Upward Communication) ทั้งยังมีการชี้แจงคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรผ่าหนังสือและสื่อเทคโนโลยีที่โรงเรียนได้นำมาใช้ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การสื่อสาร | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | รูปแบบการสื่อสารของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดขนาดใหญ่พิเศษ ที่ประสบความสำเร็จ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน | th_TH |
dc.title.alternative | Communication models of successfull extra large-sized secondary schools administrations under the office of the basic education | |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 8 | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to analyze the Communication Models of successful extra large – sized secondary Schools Administrators under the Office of the Basic Education Commission. Qualitative research was applied in this study by using the theoretical sampling. The research methodologies for collecting the data were content analysis, in-depth interview, focus group discussion, and observation and field – note. The study revealed that the Communication Models of school Administrators consisted of three mixed styles of spirited style, in applying for school management, considerate style for making inter-relationship or creating atmosphere, and systematic style in utilizing for informing, examining, and reminding through mediators. The Communication structure and process in the school was downward or top-down Communication. There was the liaison that helped deliver message to the gatekeeper. Then, the gatekeeper distributes the message to the receivers as in grapevine Communication style. Finally, the summary of order was delivered back to Administrative management as upward Communication together the written message from of document and technological mediator. | en |
dc.journal | วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of educational administration Burapha University | |
dc.page | 138-150. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
eduman8n2p138-150.pdf | 258.13 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น