กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3381
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม | |
dc.contributor.author | สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์ | |
dc.contributor.author | รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์ | |
dc.contributor.author | จงดี เยือกเย็น | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:24Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:24Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3381 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารงานวิชาการในการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ที่มีประสิทธิผลของนักเรียนระดับประถมศึกษา ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอนและนักเรียนในโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 แห่ง รวม 21 คน มีขั้นตอน การวิจัย 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับปัจจัยการบริหารงานวิชาการในการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ที่มีประสิทธิผลของนักเรียนระดับประถมศึกษา 2) การสัมภาษณ์เชิงลึก สังเกต และบันทึกภาคสนามโดยวิธีวิจัยเชิงปรากฏการณ์วิทยา และ 3) การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ผลการวิจัยพบบว่า ปัจจัยการบริหารงานวิชาการในการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ที่มีประสิทธิผลของนักเรียนระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย ปัจจัยทางการบริหารและปัจจัยทางวิชาการ ปัจจัยทางการบริหาร ได้แก่ 1) ปัจจัยด้านภาวะผู้นำทางวิชาการประกอบด้วยการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม การสร้างศรัทธา การสร้างแรงจูงใจ การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน และการเป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2) ปัจจัยด้านวิสัยทัศน์และนโยบายประกอบด้วย การกำหนดเป้าหมายร่วมกัน การพัฒนามุ่งสู่เป้าหมายและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 3) ปัจจัยด้านงบประมาณ ประกอบด้วย การจัดสรรงบประมาณ การระดมทรัพยากร การกำกับ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล และ 4) ด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย การจัดอาคารสถานที่ การจัดบรรยายภายในโรงเรียนที่เอื้อต่อการคิดวิเคราะห์ จัดเสื่อ แหล่งเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวก และจัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ทุกชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง ส่วนปัจจัยทางวิชาการ ได้แก่ 1ป ปัจจัยด้านหลักสูตรประกอบด้วย การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาครู การพัฒนากิจกรรมการคิดวิเคราะห์ และการสนับสนุนงบประมาณ 2) ปัจจัยด้านการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย การพัฒนาครูด้านการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้าน การใช้มาตรฐานและตัวชี้วัดเป็นตัวกำกับ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายและการวิจัยในชั้นเรียน 3) ปัจจัยด้านการวัดและประเมินผล ประกอบด้วย การวางแผนการวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลด้วยวิธีการหลากหลาย และการนำผลไปปรับปรุงการเรียนการสอน และ 4) ปัจจัยด้านการนิเทศประกอบด้วย การวางแผนการนิเทศ การใช้รูปแบบการนิเทศที่หลากหลาย และนำผล การนิเทศไปใช้ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การบริหารงานวิชาการ | th_TH |
dc.subject | ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ | th_TH |
dc.subject | ทักษะทางการคิด | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | ปัจจัยการบริหารงานวิชาการในการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ที่มีประสิทธิผลของนักเรียนระดับประถมศึกษา | th_TH |
dc.title.alternative | Factors of academic administration infacilitating effective analytical thinking skills of primary students | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 8 | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to study factors concern academic administration to develop effective analytical thinking skill of primary students. The major informants of this study consisted of twenty-one administrators, teachers, and students from three primary school under the Office of Basic Education Commission. The study composed of three steps: (1) Data studying, analyzing, and synthesizing about factors concern academic administration to develop effective analytical thinking skill of primary students; (2) Phenomenological analysis by in-depth interview, observation, and taking field note; and (3) Analyzing and synthesizing for describing occurred phenomenon’s. The study revealed those factors of academic administration in facilitating effective analytical thinking skill of primary students composed of two key factors: Administrational factors and Academic factors. The Administrational factors comprised of four factors: (1) Instructional leadership those involved participant management, faith building, motivating, teaching support and good human relationship. (2) Vison and policy those involved shared goals setting, oriented goals development and public relation. (3) Budget those involved budget allocating, budget collecting and budget monitoring and evaluating. (4) Environment those involved buildings setting, climate setting, learning resources and facilities setting and continuing oriented thinking skill teaching process. The academic factors were curriculum, learning and instruction, measurement and evaluation and supervision | en |
dc.journal | วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of educational administration Burapha University | |
dc.page | 124-137. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
eduman9n2p17-32.pdf | 1.84 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น