กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3377
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | บุญเกิด กลมทุกสิ่ง | |
dc.contributor.author | สมุทร ชำนาญ | |
dc.contributor.author | สมศักดิ์ ลิลา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:23Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:23Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3377 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษสำหรับผู้บริหารสถารศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 โดยมีขั้นตอนในการพัฒนาหลักสูตร 5 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน 2) การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม 3) การทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม 4) การประเมินหลักสูตรฝึกอบรม และ 5) การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรฝึกอบรม กลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 จำนวน 30 คน โดยใช้การวิจัยแบบ One Group Pretest-Posttest Design (t-test dependent) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. หลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย หลักการวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เนื้อหา วิธีการฝึกอบรม สื่ออุปกรณ์ การวัดและประเมินผล เนื้อหาหลักสูตรประกอบด้วย หน่วยที่ 1: ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน หน่วยที่ 2: การอ่านหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ หน่วยที่ 3: ภาษาอังกฤษในการประชุม หน่วยที่ 4: การเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยที่ 5: ภาษาอังกฤษสำหรับนำเสนองาน และผลการประเมินหลักสูตรฝึกอบรมมีความเหมาะสมสอดคล้องและมีประสิทธิภาพ 2. ก่อนและหลังการฝึกอบรม ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือความสามารถดีขึ้น 3. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 30 คน มีความสนใจในการฝึกทักษะการสื่อสาร ซักถาม แลกเปลี่ยนข้อมูล และให้ความร่วมมือในการร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดียิ่ง | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การฝึกอบรม | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาหลักสูตร | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารสถานศึกษา | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | The development of english training program for school administrators in basic education under the Chonburi primary Educational Service Area Office 1 | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 8 | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to develop the English training program for school administrators in Basic Education under the Chonburi Primary Educational Service Area Office I. The program developmental processes were follows: 1) A study of fundamental data, 2) Development of the training program, 3) Implementation of the training program, 4) The evaluation of the training program and 5) The improvement of the training program. The samples were 30 primary school administrators in Chonburi Primary Educational Service Area Office I. Research design was one group pretest-posttest design. Comparing the differences between the pre-test and post-test scores. Percentage, and content analysis used for analyzing the data. The findings of the research were as follows : 1.The English training program for primary school administrators consisted of principle, objectives, trainees, contents, training delivery, training materials, measurement and evaluation. Contents consisted of unit 1) English in everyday life, Unit 2) Reading English newspaper, 3) English used in meetings, 4) Writing electronics mail, and 5) English for work presentation. 2. It was revealed that before and after the training program the trainees’ ability on English was statistically significantly different at the .01 level, which was better 3. The results of program revealed that the trainees were interested in all sessions of training. They were actively involved in the activities by asking questions, practicing and participating in discussion. demic factors comprised of four factors: (1) Curriculum thoseinvolved curriculum development, teacher development, analytic thinking activities development and budget support. (2) Learning and instruction those involved teacher development for instruction, holistic student development, monitoring by standards and KPls, various learning activities and classroom research. (3) Measurement and evaluation those involved measure and evaluate planning, various methods of measurement and evaluation and adoption of results to instruction development. (4) Supervision those involved supervision planning, various methods for supervision model and application of supervision results. | en |
dc.journal | วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of educational administration Burapha University | |
dc.page | 58-68. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
eduman8n2p58-68.pdf | 170.28 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น