กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3372
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธีระพงษ์ ภูริปาณิก | |
dc.contributor.author | ภัทรมน สาตรักษ์ | |
dc.contributor.author | สกฤติ อิสริยนนท์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:23Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:23Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3372 | |
dc.description.abstract | ประชามติจัดเป็นเครื่องการเมืองอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับแนวคิดประชาธิปไตยของตะวันตก การจัดทำประชามติตั้งอยู่บนพื้นฐานของการแสดงเจตนารมณ์ร่วมกันของประชาชนในกิจกรรมทางการเมือง ทั้งมิติภายใน และมิติภายนอกประเทศ บทความนี้มุ่งเน้นไปที่มิติภายนอกในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำประชามติเพื่อแยกตัวเป็นรัฐอิสระในยุคหลังจากสงครามเย็น การจัดทำประชามติแสดงให้เห็นถึงการสร้างมาตรฐาน เพื่อวางรูปแบบการหารือกับประชาชนภายใต้บริบทของการกำหนดเจตจำนงของตนเองภายนอก อันแสดงให้เห็นถึงนัยสำคัญของความต้องการในการแยกตัวออกจากรัฐเดิมโดยอาศัยกระบวนวิธีทางประชาธิปไตย แม้ว่าการจัดทำประชามติจะมีส่วนเข้ามาช่วยในกระบวนการของการสร้างรัฐและเป็นรูปแบบที่นำมาใช้มากที่สุดก็ตามแต่ข้อโต้แย้งที่สำคัญประการหนึ่ง คือการแสดงเจตนารมณ์ของประชาชนผ่านการจัดทำประชามติไม่ได้นำไปสู่การแยกตัวออกจากรัฐเดิม แต่หน้าที่กลับไปอยู่ที่รัฐบาลกลางในการตัดสินใจว่าจะดำเนินการอย่างไรหลังจากที่ได้รับฟังเสียงของประชาชนผ่านการลงประชามติ จากกรณีศึกษาที่นำมาเปรียบเทียบ คือ ความพยายามในการจัดทำประชามติเพื่อแยกตัวจากแคนาดาของมลรัฐควิเบก (ค.ศ. 1995) กับกรณีของการจัดทำประชามติของไครเมีย (ค.ศ. 2014) เพื่อขอสิทธิในการปกครองตนเองจากยูเครน พบว่า กรณีของควิเบกนั้น การจัดทำประชามติได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในขณะที่กรณีของไครเมียกลับโดนคัดค้านในเรื่องความชอบธรรมของการจัดทำประชามติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | กฎหมายระหว่างประเทศ | th_TH |
dc.subject | การมีส่วนร่วมทางการเมือง | th_TH |
dc.subject | ประชามติ | th_TH |
dc.subject | สาขานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ประชามติกับผลในทางกฎหมายระหว่างประเทศ: ศึกษากรณีควิเบกและไครเมีย | th_TH |
dc.title.alternative | Holding referendums and international legal consequences: Case studies of Quebec and Crimea | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 3 | |
dc.volume | 7 | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | Referendum is originally a political tool emerged along with the Western democratic concept. Generally, holding a referendum is relied on people’s collective will in various political activities both in internal and external dimension. This study will focus in particular on the external dimension of holding referendums in relation to independence referendums. The revival of holding referenda, in the post-cold war era, sheds light on the generally applicable standards of popular consultation within the framework of the external right to self-determination. It can be defined in international dimension as implied secession within a democratic procedural rule. Even a referendum is necessarily contributed to establish a state and seems to be the most popular selective method for state-framing process, it could be argued that the expressed will of the people does not lead to the self-executing secession, but it does give a mandate to central government of the state to decide how to respond the vote of people. The paper will compare two cases study: the attempt of Quebec in 1995 and Crimea referendums in 2014. The former case in widely acceptable but the latter is opposable in terms of legitimacy. | en |
dc.journal | วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law | |
dc.page | 545-563. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
politic7n3p545-563.pdf | 329.04 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น