กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3371
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorลักษณาพร กรุงไกรเพชร
dc.contributor.authorกิตติ กรุงไกรเพชร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:23Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:23Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3371
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสูบบุหรี่ของนิสิตมหาวิทยาลยั บูรพา จังหวัดชลบุรี จำนวน 453 คน โดยสมุ่ ตัวอย่างแบบเป็นระบบเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ที่ผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงจากผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าไคสแควร์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างอายุเฉลี่ย 20.84 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 69.30 ภูมิลำเนาเดิมเป็นภาคตะวันออก ร้อยละ 39.50 อยู่กับบิดามารดา ร้อยละ 69.30 บิดามารดาอยู่ร่วมกัน ร้อยละ 79.70 ผู้อุปการะเลี้ยงดูเป็นบิดามารดา ร้อยละ 80.40 รายรับต่อเดือนส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 2,000-5,000 บาท (ร้อยละ 43.05) รายจ่ายต่อเดือนของกลุ่มตัวอย่างระหว่าง 2,000-5,000 บาท (ร้อยละ 51.20 ) อัตราการ สูบบุหรี่ร้อยละ 9.27 เมื่อนำมาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆกับผู้ที่สูบบุหรี่และไม่สูบบุหรี่พบมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติได้แก่ เพศ พบว่าเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง p=.00 การอยู่ร่วมกับครอบครัวพบว่า การอยู่โดยลำพังสูบบุหรี่มากกว่าอยู่ร่วมกับบิดามารดา p=.03 รายจ่ายพบว่า รายจ่ายมากสูบบุหรี่มากกว่าผู้ที่รายจ่ายน้อย p=.00 และความรู้พบว่า มีความรู้น้อยสูบบุหรี่มากกว่ามีความรู้มาก p=.01 และ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ พบมากที่สุดคือ อยากทดลองสูบร้อยละ 45.24 รองมาคือ ความเครียดวิตกกังวลร้อยละ 33.33 จำนวนบุหรี่ที่สูบเฉลี่ยต่อวันส่วนใหญ่ 2-5 มวน (ร้อยละ 45.24) ความถี่ในการสูบมากที่สุดคือ สูบทุกวันร้อยละ 45.23 รองมาสูบสัปดาห์ละ 2-3 ครั้งร้อยละ 19.04 ไม่มียี่ห้อร้อยละ 38.10 ซื้อจากร้านสะดวกซื้อ ร้อยละ 61.90 ร้อยละ 35.71 ค่าใช้จ่ายในการสูบบุหรี่น้อยกว่า 100 บาทต่อเดือน โอกาสในการสูบบุหรี่คือเมื่อไปเที่ยวกลางคืน/ดื่มสุรา ร้อยละ 35.90 สถานที่ที่ท่านมักจะสูบบุหรี่คือ สถานบันเทิง (เธคหรือผับ) ร้อยละ 35.29 ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับผลของการสูบบุหรี่ พบว่า ร้อยละ 83.33 เห็นว่าการสูบบุหรี่ทำให้เกิดโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ และร้อยละ 76.19 เห็นว่าการสูบบุหรี่มีผลเสียต่อคนรอบข้างth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการสูบบุหรี่th_TH
dc.subjectนักศึกษา - - การใช้ยาสูบth_TH
dc.subjectบุหรี่th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการสูบบุหรี่ของนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeFactor affecting smoking behavior of undergraduate students in Burapha Universityen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume4
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThe research was a descriptive study to determine the factors that influence smoking among Burapha University students, Chonburi Province. Four hundred fifty three students were selected by systematic sampling. The instrument was a questionaire where validity and reliability were tested. The data was analysed by using the percentage, mean, standard deviation, and chi-square. We found that mean age of students was 20.84 years. Female was 69.30%. Their hometowns were in eastern region (39.50%). The majority (69.30%) stayed with their parents. Parents were living together up to 79.70%. About 80.40% of benefactors were their own parents. Most of them (43.05%) were given around 2,000-5,000 Baht per month, and most of them (51.20%) spent around 2,000-5,000 Baht a month either. Smoking rate was 9.27%. As comparing between smokers and non-smokers, male smoked cigarette more than female significant statistically (p = .00). Students who stayed alone, smoked cigarette more than students who stayed with their parents (p = .03). Students who had higher expenditure per month smoked more cigarettes than those who had less expenditure (p = .00). About the effect of smoking, those who knew less smoked cigarettes more than those who knew better (p = .01). For the smoking behaviors, we found that try smoking was the most common reason (45.24%), following by stress/anxiety (33.33%). The average of cigarettes used was 2-5 pieces per day (45.24%). Smoked everyday was 45.23%. Smoked 2-3 days per week was 19.04%. Most of them brought no brand cigarettes (38.10%). Sources of cigarettes were mainly purchased from convenient stores (61.90%). Cost of smoking was less than 100 Baht per month (35.71%). Main occasions for smoking was during nightlife and drinking (35.90%). There were 88.33% and 76.19% admitted the risk of respiratory disease and bad affect on people around respectivelyen
dc.journalบูรพาเวชสาร = Burapha Journal of Medicine
dc.page21-30.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
med4n1p21-30.pdf99.36 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น