กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3350
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวีระ หวังสัจจะโชค
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:21Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:21Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3350
dc.description.abstractความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจเป็นหัวใจสำคัญในระบบเศรษฐกิจสากลและการรวมกลุ่มความสัมพันธ์ในระบบเศรษฐกิจ นักวิชาการบางส่วนเห็นว่าการแข่งขันทางเศรษฐกิจสามารถทำความเข้าใจผ่านการค้าระหว่างประเทศและหลักการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ อย่างไรก็ดี บทความนี้มีข้อถกเถียงว่าความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจสามารถถูกทำความเข้าใจจากกรอบของการกระจุกตัวและการรวมศูนย์อำนาจของทุนในกรอบวิเคราะห์ของกลุ่ม Marxian โดยความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจสร้างระบบผูกขาดในระบบเศรษฐกิจสากลผ่านตัวแสดง “บรรษัทข้ามชาติ” ไม่ใช่ผลประโยชน์แห่งชาติ นอกจากนี้ การผูกขาดยังได้รับการสนับสนุนจากข้อตกลงระหว่างประเทศต่าง ๆ ทั้งนี้ เพื่อเชื่อมโยงทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถดูได้จากตัวอย่างของการค้าระหว่างประเทศในระบบเกษตรกรรมทางอาหารที่มีการควบคุมด้วยการกระจุกตัวและรวมศูนย์อำนาจทางเศรษฐกิจ ความสามารถในการแข่งขันได้สร้างระบอบอาหารรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า “ระบอบบรรษัทอาหาร” ที่มีบรรษัทข้ามชาติทางด้านเกษตรกรรมทางอาหารเป็นตัวแสดงหลัก การกระจุกตัวของอำนาจ ดังกล่าวสามารถเกิดขึ้นได้จากความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบรรษัทยักษ์ใหม่ ข้อตกลงระหว่างประเทศ และการครอบงำทางความคิดในเรื่องของตัวชี้วัดขีด ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการค้าระหว่างประเทศth_TH
dc.subjectการรวมศูนย์ทางอำนาจth_TH
dc.subjectบรรษัทข้ามชาติth_TH
dc.subjectระบบเกษตรกรรมth_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleการกระจุกตัวและการรวมศูนย์ทางอำนาจว่าด้วยเรื่อง "ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ" : กรณีศึกษาว่าด้วยเรื่องการค้าระหว่างประเทศในกรณีระบบเกษตรกรรมทางอาหารth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume4
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeCompetitiveness is a key of global economy and economicintegration. Some people note that competitiveness can be understoodand promoted by international trades and comparative advantages.However, this article argues that competitiveness can be vividly examinedas a concentration and centralisation of capitals in term of Marxianeconomics. The competitiveness has created monopolisation of globaleconomy through key actors that are transnational corporations (TNCs),rather than national interests. Moreover, the monopolisation has beenenhanced by multilateral agreements. To apply Marxian political economyand practice, a case study of the global trade of agriculture-food systemis elucidated to show the process of concentration and centralisation ofglobal economy. The competitiveness has created new form of foodregime as “corporate food regime” that has agri-food TNCs as a key actor.Concentration of TNCs power is constituted by the giant corporates-state relations, multilateral agreement, and neoliberal hegemonic idea ofindicator of competitiveness.en
dc.journalวารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา = Burapha Journal of Political Economy
dc.page25-48.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
bpe4n1p25-48.pdf2.45 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น