กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3345
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorระพินทร์ ฉายวิมล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:21Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:21Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3345
dc.description.abstractการวิจัยนี้เพื่อศึกษาการตระหนักรู้อภิปัญญาทางการเรียน ซึ่งเป็นกรอบความคิดเชิงระบบของบุคคลในการบูรณาการความรู้ทางอภิปัญญาและการติดตามกำกับกลไกการคิดทางอภิปัญญาเพื่อการเรียนรู้โดยการพัฒนาแบบสำรวจการตระหนักรู้อภิปัญญาของ Shrew and Dennison (1994) ซึ่งเป็นแบบสำรวจที่ใช้ในการวิจัยและศึกษาความตระหนักรู้อภิปัญญาของนิสิตนักศึกษา และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสาม โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตนักศึกษาปริญญาตรี จำนวน 620 คน (ชาย 173 คน หญิง 447 คน) อายุเฉลี่ย 19.6 ปี ผลการวิจัยพบว่า โมเดลการตระหนักรู้อภิปัญญาทางการเรียนของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี มีความตรงเชิงโครงสร้างของแนวคิดเชิงทฤษฎีแบบวัด (X2 =2151.38, df= 1145, X2/df =1.87, p= 0.000, RMSEA = 0.038, CFI = 0.99, GFI = 0.88, AGFI =0.86) และผลการวิจัยยังพบว่า นิสิตนักศึกษามีระดับของการตระหนักรู้อภิปัญญาทางการเรียนในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย =3.46, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = .50) ซึ่งควรมีกระบวนการตระหนักรู้อภิปัญญาทางการเรียนและการบูรณาการจัดระบบเพื่อการใช้องค์ความรู้และทักษะการคิดทางอภิปัญญาอย่างมีทิศทางเพื่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการรู้คิดth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์ตัวประกอบเชิงยืนยันth_TH
dc.subjectการเรียนรู้จากการรู้คิดth_TH
dc.subjectเมตาคอคนิชันth_TH
dc.titleการศึกษาการตระหนักรู้อภิปัญญาทางการเรียนของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสามth_TH
dc.title.alternativeA study of metacognitive awareness in learning of undergraduate students' through third order confirmatory factor analysisen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume11
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to investigate the metacognitive awareness in learning of undergraduate students. The data of 620 undergraduate students were collected through the Inventory which adjusted from Metacognitive Awareness Inventory (Schraw and Dennison, 1994). Third order confirmatory factor analysis was employed to analyze the data. Findings revealed that construct validity of the metacognitive awareness in learning model and the Inventory were confirmed; and the index are X2 = 2151.38, df = 1145, X2/df = 1.87, p=0.000, RMSEA = 0.038, CFI=0.99, GFI = 0.88, AGFI = 0.86. 2. The metacognitive awareness in learning of undergraduate students is average (X = 3.46, SD = .50). This result suggests that the empowerment of students’ metacognitive awareness in learning should be encouraged.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusocial11n2p306-315.pdf555.91 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น