กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3338
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรวุฒิ เพ็งพันธ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:20Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:20Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3338 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบกิจกรรมรายวิชาตามแนวคิด จิตตปัญญาศึกษา และศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนตามแนคิด จิตตปัญญาศึกษา ในรายวิชาการศึกษากับสังคม จากนิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษาจำนวน 30 คน โดยผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประกอบด้วย การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม การจดบันทึก และรายงานการประเมินตนเองของผู้เรียน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบกิจกรรมในรายวิชาทั้ง 6 กิจกรรม มีความสอดคล้องกับเนื้อหารายวิชา ทั้ง 6 บทเรียน สามารถนำกิจกรรมตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษามาใช้ได้แก่ สุนทรียสนทนา (Dialogue) การฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep Listening) 2. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาทั้ง 6 กิจกรรม พบว่า คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา มี 4 ด้านคือ ด้านทักษะมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านโลกทัศน์ หรือการมองโลกและชีวิต ด้านพฤติกรรม และด้านจิตใจ ตามลำดับ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | คุณลักษณะที่พึงประสงค์ | th_TH |
dc.subject | จิตตปัญญาศึกษา | th_TH |
dc.title | การศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนจากกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา: กรณีศึกษารายวิชาการศึกษากับสังคม | th_TH |
dc.title.alternative | A study of desirable characteristics of students under the contemplative education concept: A case study in education and society course | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 11 | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study learning activities model and to study of desirable characteristics of students under the contemplative education concept in education and society course by using the sample group from 30 educational technology students. The research used the qualitative research methodology : participation observation, journaling, self assessment report (SAR) and data analysis in content. Research finding were as follows: 1.The six activities of learning activities model in this course are related to the content of six lessons. The contemplative education concept in dialogue, deep listening, journaling and self and group thinking feedback can be applied to them. 2. The results of six activities under the contemplative education concept are shown that the students have four desirable characteristics. They are skills, world view or life view, behavior and mentality, respectively. | en |
dc.journal | วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development | |
dc.page | 201-212. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
edusocial11n2p201-212.pdf | 622.29 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น