กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3303
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | นพมณี เชื้อวัชรินทร์ | |
dc.contributor.author | สพลณภัทร์ ศรีแสนยงค์ | |
dc.contributor.author | นิติธรรม จันทร์แจ่ม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:18Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:18Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3303 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยาศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบเชิงรุกกับการสอนในรูปแบบรูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) เพียงแบบเดียว 2)เพื่อศึกษาเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการเรียนการสอบโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบเชิงรุกที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) เพียงแบบเดียว โดยทดลองใช้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนดัดดรุณี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบกลุ่ม โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง จำนวน 43 คน และกลุ่มควบคุม 1 ห้อง จำนวน 44 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วยการสอนโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบเชิงรุกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเคมี และแบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test (Dependent samples) จากผลการวิจัยพบว่า 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบเชิงรุกกว่าการสอนโดยวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) อย่างมีนัยความสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 2.เจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบเชิงรุกและการสอนโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E)อยู่ในเกณฑ์ระดับดี | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ | th_TH |
dc.subject | การเรียนแบบมีส่วนร่วม | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 อี | th_TH |
dc.subject | เคมี - - การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้วิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบเชิงรุก (Active Learning): กรณีศึกษาโรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา | th_TH |
dc.title.alternative | The study of learning achievement in chemistry for grade 11 students using the inquiry cycle (5E) learning method together with the active learning method: A case study at Datdaruni School Chachoengsao province | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 11 | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were 1) To compare grade 11 students' learning achievement in chemistry by using the Inquiry cycle (5E) learning method together with the Active learning method and using only the Inquiry cycle (5E) learning method 2) To study grade 11 students' scientific attitude by using the Inquiry cycle (5E) learning method together with the Active learning method and the Inquiry cycle (5E) learning method. The random samples of cluster were selected from grade 11 students at Datdaruni School in the first semester of 2014 academic year including 43 students for sample group and 44 students for control group. The research instruments consisted of the Inquiry cycle (5E) learning method together with the Active learning lesson plans, a chemistry learning achievement test and Scientific attitude test. The statistic used were included means, standard deviation and t-test (Dependent samples). The finding revealed as follows: 1. Grade 11 students' learning achievement after using the Inquiry cycle (5E) learning method together with the Active learning method were higher than the Inquiry cycle (5E) learning method at the .05 levels of significant. 2. Grade 11 students' Scientific attitude toward chemistry classroom after using the Inquiry cycle (5E) learning method together with the Active learning method and the Inquiry cycle (5E) learning were good level. | en |
dc.journal | วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development | |
dc.page | 71-82 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
edusocial11n2p71-82.pdf | 519.49 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น