กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3300
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
dc.contributor.authorจิดาภา สุวรรณ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:18Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:18Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3300
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการปรึกษากลุ่มโดยการกำกับตนเองต่อพฤติกรรมการใช้จ่ายเกินความจำเป็นของนิสิตปริญญาตรี กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาเป็นนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา ปีการศึกษา 2557 ที่เรียนวิชาอารมณ์และการจัดการความคเรียด และวิชาพลวัตรกลุ่ม ซึ่งได้รับการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม และใช้แบบสำรวจการใช้จ่ายคัดกรองนิสิตที่มีพฤติกรรมการใช้จ่ายประจำวัน โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบสลับกลับ(ABA reversal design) แบ่งการทดลองเป็น 3 ระยะ คือ ระยะเส้นฐาน ระยะทดลอง และระยะถอนการทดลอง นำเสนอผลค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการใช้จ่ายเกินความจำเป็นของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมในแต่ละช่วงด้วยตารางและกราฟเส้น และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้ขนาดของผล ผลการศึกษาพบว่า นิสิตปริญญาตรีกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการใช้จ่ายเกินความจำเป็นในระยะทดลองและระยะถอนการทดลองต่ำกว่าระยะเส้นฐาน และนิสิตปริญญาตรีกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการใช้จ่ายเกินความจำเป็นต่ำกว่านิสิตปริญญาตรีกลุ่มควบคุมในระยะถอนการทดลอง ส่วนในระยะทดลองนิสิตปริญญาตรีกลุ่มทดลองและนิสิตปริญญาตรีกลุ่มควบคุมมีพฤติกรรมการใช้จ่ายเกินความจำเป็น ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการควบคุมตนเองในวัยรุ่นth_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectนักศึกษา - - การดำเนินชีวิตth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleผลการปรึกษากลุ่มโดยการกำกับตนเองต่อพฤติกรรมการใช้จ่ายเกินความจำเป็นของนิสิตปริญญาตรีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of self-regulation group counseling on unneccessary consumption behavior of undergraduate studentsen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume11
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThis experimental research aimed to study the effect of self-regulation group counseling on unnecessary consumption behavior of undergraduate students. The sample of this study were 16 undergraduate students at Burapha University in the year of 2014, they were screened using consumption behavior survey then randomly assigned into 2 groups. Each group contained 8 students for experiment and 8 for a control group. The instrument used in the study was the self-regulation group counseling program and consumption behavior self-report. The design used in the study was the ABA reversal design. The study was divided into three periods: baseline, behavior in treatment and withdrawal period. The mean values of the unnecessary consumption each period were present by the table and the graphic lines, analyzed by using effect size. The results showed that the undergraduate students in the experiment group showed the unnecessary consumption behavior from both the treatment and withdrawal period lower than Moreover, the undergraduate students in the experiment group showed less the baseline period. Moreover, the undergraduate students in the control group in withdrawal period. The unnecessary consumption behavior of the undergraduate students in the experiment and control group in treatment period was not different.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page35-47.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusocial11n2p35-47.pdf399.49 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น