กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3299
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชูชาติ พิณพาทย์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:18Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:18Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3299 | |
dc.description.abstract | ดนตรีไทยเป็นดนตรีประจำชาติ ที่อยู่คู่กับคนไทยมาตั้งแต่โบราณ และได้นำดนตรีไทยมาใช้สังคมโดยความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทำให้เกิดพิธีกรรมต่าง ๆ ขึ้นและยึดถือปฏิบัติกันมาจน กลายเป็นดนตรีและพิธีกรรมดนตรีถูกนำไปใช้ในงานต่าง ๆ เช่น งานบวช งานทำบุญ งานศพ หรืออาจจะสรุปได้ว่า ดนตรีถูกนำไปใช้ในงานมงคล และงานอวมงคลวงบัวลอย เป็นวงดนตรี ไทยประเภทหนึ่งที่มีมาแต่โบราณ เป็นวงดนตรีขนาดเล็กใช้ในงานอวมงคล สมัยก่อนจะใช้ เฉพาะการประโคมศพเจ้านาย (การบรรเลงงานอวมงคล เรียกว่า การประโคมศพ) วงบัวลอยเป็นวงที่ผู้บรรเลงจะต้องมีความสามารถสูงและมีฝีมืออย่างมาก จึงจะบรรเลง ได้อรรถรสในงานพระราชพิธี พระเมรุและถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีในวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2539 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้มีการบรรเลงของวงบัวลอย ในงานพระราชพิธีครั้งนั้นด้วย | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ดนตรีไทย | th_TH |
dc.subject | วงดนตรีไทย | th_TH |
dc.subject | เพลงไทยเดิม | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | บัวลอยทางยามสอง | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 11 | |
dc.year | 2558 | |
dc.journal | วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development | |
dc.page | 7-21 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
edusocial11n2p7-21.pdf | 137.45 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น