กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3286
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอภิรดี ปิลันธนภาคย์
dc.contributor.authorสมถวิล จริตควร
dc.contributor.authorสุดารัตน์ สวนจิตร
dc.contributor.authorศรัณยา รักเสรี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:17Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:17Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3286
dc.description.abstractการศึกษาความหลากหลายของราในดินและน้ำในน้ำเกลือ จังหวัดฉะเชิงเทรา ในช่วงระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 พบราทั้งหมดจำนวน 41 แทกซา ซึ่งเป็นราในกลุ่มอะนามอร์พ เมื่อนำมาจัดจำแนกโดยอาศัยลักษณะทางสัณฐานสามารถจำแนกได้อย่างน้อยถึงระดับจีนัส จำนวน 23 จีนัส จีนัสที่พบสมาชิก ได้หลากหลายสปี ชีส์คือ Aspergillus, Penicillium และ Cladosporium โดยมีจำนวน 5, 4 และ 3 สปี ชีส์ตามลำดับ ราที่พบบ่อยที่สุดคือ Cochilobolus sp. / Bipolaris sp. (8.33%) ตาม ด้วย Cladosporium sphaerospermum, C. cladosporioides, Moniliella sp. และ Nigrospora sphaerica (พบชนิดละ 5.56%) ประชาคมราที่พบในการเก็บตัวอย่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 มกราคม พ.ศ. 2555 และเมษายน พ.ศ. 2555 มีความคล้ายคลึงกันตาม Sorensen’s index of similarity(S) ระหว่าง 0.30-0.52 ปริมาณราที่พบในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2555 มีมากที่สุด แต่มีความคล้ายคลึงของประชาคมรากับประชาคมราในเดือนอื่น ๆ น้อยที่สุด (S = 0.1- 0.2)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectความหลากหลายth_TH
dc.subjectนาเกลือth_TH
dc.subjectราth_TH
dc.titleความหลากหลายของราในนาเกลือ จังหวัดฉะเชิงเทราth_TH
dc.title.alternativeDiversity of solar sattern fungi in Chachoengsao provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume21
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeDiversity of fungi from soil and water in solar salterns of Chachoengsao Province during October,2011 and July,2012 was investigated. Forty-one taxa of anamorphic fungi were revealed. Twentythree fungal genera were identified based upon morphological characteristics. High species diversity was found in the genera Aspergillus, Penicillium and Cladosporium, i.e. 5, 4, and 3 species, respectively. The most frequent fungi were Cochilobolus sp. / Bipolaris sp. (8.33), followed by Cladosporium sphaerospermum, C.cladosporioides, Moniliella sp. and Nigrospora sphaerica (each represented 5.56%). Sorensen’s index of similarity (S) between fungal communities in the samples collected in October, 2011, January,2012 and April,2012 ranged from 0.30- 0.52. The highest total number of fungi was found in July, 2012 compared to those of other collection times. In contrast, the lowest similarity of fungal community was recorded in this month (S = 0.1-0.2).en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal
dc.page280-290.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
sci21n2p280-290.pdf558.54 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น