กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3280
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสวามินี ธีระวุฒิ
dc.contributor.authorปฏิยุทธ์ ขวัญอ่อน
dc.contributor.authorมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
dc.contributor.authorรัชดาภรณ์ อาจพงษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:23:17Z
dc.date.available2019-03-25T09:23:17Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3280
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมี และจุลชีววิทยาของเนื้อหอยแมลงภู่สุกโดยการศึกษาผลของการเคลือบสารละลายชาเขียว และวิตามินซีร่วมกับการแช่เย็นต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมีและจุลชีววิทยาของเนื้อหอยแมลงภู่สุก (TC) เคลือบสารละลายอัลจิเนตเพียงอย่างเดียว (TA) เคลือบสารละลายอัลจิเนตที่มีชาเขียวและวิตามินซีผสมอยู่ในระดับความเข้มข้นแตกต่างกัน 4 ระดับ ได้แก่ สารละลายอัลจิเนตผสมชาเขียว 2.5% และวิตามินซี1.25% (T1) สารละลายอัลจิเนตผสมชาเขียว 2.5% และวิตามินซี 2.5% (T2) สารละลายอัลจิเนตผสมชาเขียว 1.25% และวิตามินซี 2.5% (T3) และสารละลายอัลจิเนตผสมชาเขียว 0.625% และวิตามินซี 2.5% (T4) จากนั้นเก็บรักษาในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 4±1 องศาเซลเซียส ผลการศึกษาพบว่าเนื้อหอยแมลงภู่สุกที่เคลือบใน T2 มีการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมีน้อยที่สุด (p<0.05) โดยมี TVB-N และ TMA-N ต่ำกว่าชุดการทดลองอื่น เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ ทางจุลชีววิทยาของเนื้อหอยแมลงภู่สุกที่เคลือบใน T2 ที่เกิดขึ้นช้ากว่าชุดการทดลองอื่นเช่นกัน โดยการเคลือบเนื้อหอยแมลงภู่สุกใน T2 มีจำนวนจุลินทรีย์เกินค่ามาตรฐานในวันที่ 10 ของการเก็บรักษา (พิจารณาเพื่อความปลอดภัยในการบริโภคในอาหารทะเลปรุงสุกต้องมีจำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมดไม่เกิน 6.0 log CFU/g) ขณะที่เนื้อหอยแมลงภู่สุกใน T1 T3 และ T4 มีจำนวนจุลินทรีย์เกินค่ามาตรฐานในวันที่ 6 ของการเก็บรักษาตามลำดับเหมือนกัน ส่วน TA และTC เก็บได้เพียง 4 วันth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectวิตามินซีth_TH
dc.subjectการเคลือบชาเขียว
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
dc.titleชาเขียวและวิตามินซีกับการชะลอการเสื่อมคุณภาพของเนื้อหอยแมลงภู่สุก: คุณภาพทางเคมีและจุลชีววิทยาth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume21
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThis research aims to slow down the chemical and microbiological qualities of cooked green mussel (Perna viridis) by effect of the coating of green tea and vitamin C with chilled on changing for chemical and microbiological quality of cooked green mussel samples were uncoated (TC), coated in alginate solution (TA), coated in alginate solution contain green tea and vitamin C mixture in concentrations varying 4 levels as follow; alginate–based coating incorporating 2.5% green tea and 1.25% vitamin C (T1), 2.5% green tea and 2.5% vitamin C (T2), 1.25% green tea and 2.5% vitamin C (T3), 0.625% green tea and 2.5% vitamin C (T4) (v/v) at 4+1 OC. It was found that in chemical qualities of T2 samples was the lowest changes (p<0.05), which TVB-N and TMA-N values were lower than other treatments. As well as the microbiological quality of cooked green mussel, coated in T2 was more slowly than other treatments as well. It also was found that the total plate counts of T2 samples were higher than the standard number of microorganisms on day 10 of storage (Consider the safety of consuming cooked seafood to total plate count less than 6.0 log CFU / g.). While T1, T3 and T4 samples were higher than standard on day 6 storage as TA and TC samples were higher than standard on day 4 storage.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal.
dc.page1-16.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
sci21n2p1-16.pdf410.17 kBAdobe PDFดู/เปิด
sci21n2p1-16.pdf410.17 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น