กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3272
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อัญชลี เหมชะญาติ | |
dc.contributor.author | สมหมาย แจ่มกระจ่าง | |
dc.contributor.author | ศรีวรรณ ยอดนิล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:17Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:17Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3272 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลกระทบ การปรับตัวของแม่วัยรุ่นในเขตพื้นที่ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 6 ระยอง และแนวทางการช่วยเหลือที่เหมาะสมสำหรับแม่วัยรุ่น เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2557 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1. ผลกระทบของการเป็นแม่วัยรุ่นด้านจิตใจ ทำให้เกิดความเครียด เกิดภาวะซึมเศร้า การเห็นคุณค่าในตนเอง ด้านร่างกาย ทำให้แม่วัยรุ่นและลูกมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น ด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้เสียโอกาสทางการศึกษา ผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในระบบต้องออกจากโรงเรียนกลางคัน บุคคลในครอบครัวเกิดความผิดหวัง อับอาย ต้องหยุดงานเพื่อช่วยดูแลแม่วัยรุ่นและลูก เป็นการเพิ่มภาระค่าใช้จ่าย ทำให้เกิดปัญหาด้านการเงิน แต่แม่วัยรุ่นทุกคนก็ได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวเพียงพอ ทำให้ไม่มีแม่วัยรุ่นที่อยู่ลำพังหรืออยู่สถานสงเคราะห์ส่งผลให้แม่วัยรุ่นส่วนมากดำรงบทบาทมารดาได้ 2. การปรับตัวของแม่วัยรุ่น ทุกคนไม่มีการจ็บป่วยรุนแรงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สามารถเลี้ยงดูบุตรโดยพักอาศัยอยู่กับครอบครัวตนเองหรือสามี เนื่องจากส่วนมากมีการปรับตัวทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านมโนมติ ด้านบทบาทหน้าที่ และด้านการพึ่งพาระหว่างกัน 3. แนวทางการช่วยเหลือที่เหมาะสมสำหรับแม่วัยรุ่น ต้องเกิดจาการประสานความร่วมมือของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานแม่และเด็กได้แก่ ด้านการศึกษา การสาธารณสุข ชุมชน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ร่วมให้การช่วยเหลือแก่แม่วัยรุ่นและครอบครัวอย่างต่อเนื่อง | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การปรับตัว (จิตวิทยา) | th_TH |
dc.subject | การเป็นมารดา | th_TH |
dc.subject | มารดาวัยรุ่น | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | |
dc.title | การปรับตัวของแม่วัยรุ่น | th_TH |
dc.title.alternative | The adaptation of the adolescent mothers | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 11 | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | This qualitative research was conducted to examine the effects and adaptation of adolescent mothers in order to propose the solution guidelines. Data were collected during October to December 2014 from the participants in the District Health Service 6 (Rayong) as categorized by National Health Security Office. The methods of data collection included in-depth interview and focus group discussion. Data were analyzed by the content analysis technique. The results were as follows: 1. The effects to adolescent mothers in the study area were the psychological effects including stress, and low self-esteem; psychological effects including increased health problems of adolescent mothers and their children; economic and social effectsincluding loss of opportunities to continue studying after school dropouts, disappointment and humiliation of family members as well as absence from working to help the adolescent mothers and their babies, so that some families had more serious financial problem. However, in this study, all adolescent mothers had enough social support. Therefore, Therefore, no adolescent members lived in a foster home for adolescent mother. Thus, the adolescentmother were able to play their maternal role. 2. According to adaptation, the adolescentmother in the study area were no serious problem on psychological and psychological problem. They were able to take care of their children by living with their parents or husband while they had good adaptation for all 4 domains, including psychological self-concept, role function, and interdependence mode domains. 3. Regarding the solution guidelines for adolescent mothers, the co-operation from all responsible sectors for maternal and child welfare were needed. These sectors included school, health care facilities, community, local administrative organization, and Office of Social Development and Human Security of each province. In order to implement the effective solutions, the personnel of those sectors have to help adolescent mothers and their family | en |
dc.journal | ารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development | |
dc.page | 179-190. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
edusoc11n1p179-190.pdf | 154.83 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น