กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3249
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | โอฬาร ถิ่นบางเตียว | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:16Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:16Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3249 | |
dc.description.abstract | ข้อเสนอแนะการปฏิรูปการกระจายอำนาจและปกครองท้องถิ่นของสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม 2557 ให้ความสำคัญที่ 1) การปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน 2) จัดความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภุมิภาคและส่วนท้องถิ่นใหม่โดยเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น 3) การจัดแบ่งภารกิจระหว่างราชการส่วนต่าง ๆ และ 4) กระบวนการกำกับดูแลที่เหมาะสมระหว่างราชการส่วนต่าง ๆ กับท้องถิ่น เพื่อสรา้งประสิทธิภาพในการบริหารราชการ ซึ่งละเลยการวิเคราะห์แบบองค์รวมและขาดการวิพากษ์อย่างถึงรากถึงโคนของรากเหง้าของปัญหาการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น ปัญหาของชุมชนท้องถิ่นไทยปัจจุบันมีความซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจากมีเงื่อนไขและปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อชุมชนท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวมทั้งมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมากขึ้นในสนามอำนาจท้องถิ่น ข้อควรพิจารณาในการปฏิรูปการกระจายอำนาจแนวเศรษฐกิจการเมืองท้องถิ่น คือ คณะทำงานการปฏิรูปจะต้อง 1) ปรับเปลี่ยนความคิดและโลกทัศน์ 2) สร้างกระบวนทัศน์ใหม่ว่าด้วยการกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่น 3) วิเคราะห์ปรากฎการณ์แบบองค์รวมและบูรณาการ 4) ผสมผสานกับแนวคิดท้องถิ่นนิยมให้ความสำคัญกับประวัติศาสตร์ท้องถิ่น วัฒนธรรมชุมชน สิทธิชุมชน อัตลักษณ์ชุมชน รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 5) คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงของโลกาภิวัตน์ที่มีผลกระทบต่อสังคมชุมชนท้องถิ่น นอกจากนี้คณะทำงานฯ ต้องเน้นเป้าหมายหลักของการกระจายอำนาจ คือกระจายอำนาจการตัดสินใจบางส่วนให้แก่ชุมชนท้องถิ่นและประชาชนในท้องถิ่น ให้ได้มีส่วนร่วมในการกไหนดนโยบายสาะารณะทางตรงของชุมชน ประชาชนในท้องถิ่นจะมีความภาคภูมิใจในความเป้นคนท้องถิ่นและชุมชนท้องถิ่นที่เขาอาศัยและเขาเป็น นั่นคือ ต้องให้ควาสำคัญกับยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งจากชุมชน ส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นได้เรียนรู้และมีส่วนร่วมในการจัดการชุมชนท้องถิ่นด้วยตนเองร่วมกันกับองค์กรปกครองท้องถิ่น ดังนั้นข้อเสนอการปฏิรูปในบทความนี้จึงต้องการคืนอำนาจกลับไปให้ชุมชนท้องถิ่นและคนในท้องถิ่น ควบคุมไปกับปรับปรุงเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารราชการที่สมดุลระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การกระจายอำนาจปกครอง | th_TH |
dc.subject | การปกครองท้องถิ่น | th_TH |
dc.subject | เศรษฐศาสตร์การเมือง | th_TH |
dc.subject | สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ข้อสังเกตว่าด้วยแนวทางการกระจายอำนาจของคณะทำงานการปฏิรูปด้านการปกครองท้องถิ่น และข้อควรพิจารณาในการปฏิรูปการกระจายอำนาจแนวเศรษฐศาสตร์การเมืองท้องถิ่น | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 3 | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | Proposals to reform decentralization and local government by the Ministray of Defense in 2014, focused on the 1) restructuring public administration 2) relationship between central, regional and local administration, specifically between regional and local administration 3) division of work between difference branches of government and 4) effective supervision procedures between government units and local administration for building the efficiency in public administration, overlooked the holistic analysis and lacked of radical critique on the root of decentralization and local government problems. Today, Thailand's local community problems become more complex because these are conditions and factors that affect the local community and local administrative organization, including more stakeholders in the local field of power. Considerations for decentralization reform on local political economy approach are the reform committee must 1) adjust thoughts and worldview 2) create a new paradigm for distribution of power to local 3) analyze phenomena both holistic and integrated 4) integrate in to localism which focuses on local history, community culture, community right, community identity, including indigenous knowledge and 5) take into account the dynamics of globalization that affects local communities. In addition, the committee has to focus on the principal goals of decentralization that is to decentralize the dicision-making to local community and people to make their own future and to participate in public policy of the community directly. They take pride in the local people and local community, a place where they live and they are. The committee has to stress on strategy to strengthen community. encourage local people to learn and participate in managing their own local communities together with local administrative organization. Thus, proposals to reform in the article need to return power to local communities and local people along with the restructuring public ad ministration that balance between central, regional and local administrations. | en |
dc.journal | วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา = Burapha Journal of Political Economy. | |
dc.page | 105-135. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
bpe3n2p105-135.pdf | 2.6 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น