กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3200
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุรัตน์ ไชยชมภู | |
dc.contributor.author | หล้าคำ พะกาน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:21:23Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:21:23Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3200 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความต้องการพัฒนาและแนวทางการพัฒนาครูสังกัดแผนกศึกษาธิการและกีฬาจังหวัดหลวงน้ำทา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กลุ่มตัวอย่างเป็นครูสอนมัธยมตอนต้นและครูสอนมัธยมตอนปลายจำนวน 260 คน และผู้บริหารการศึกษาแผนกศึกษาธิการจังหวัดจำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมานค่า 5ระดับได้ค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .39 - .82 และค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่า .98 และแบบสัมภาษณ์สนทนากลุ่ม (Focus Group) สถิติที่ใช้ได้แก่ค่าเฉลี่ย (x) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ร้อยละ การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า: 1. ความต้องการพัฒนาครูสังกัดแผนกศึกษาธิการและกีฬาจังหวัดหลวงน้ำทาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 1) ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 2) ด้านการวิจัยในชั้นเรียน 3) ด้านการใช้สื่อและเทคโนโลยี 4) ด้านการครองตนของครู 5) ด้านการวัดและประเมินผล โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามอันดับจากมากไปหาน้อย 3 อันดับ คือ การครองตนของครู การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและการวัดและประเมินผล 2. เปรียบเทียบความต้องการพัฒนาครู สังกัดแผนกศึกษาธิการและกีฬาจังหวัดหลวงน้ำทา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน วุฒิการศึกษาและระดับช่วงชั้นที่สอน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. แนวทางการพัฒนาครูสังกัดแผนกศึกษาธิการและกีฬาจังหวัดหลวงน้ำทาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ควรศึกษาความต้องการของครูรอบด้านในโรงเรียนเพื่อให้ความช่วยเหลือครู ควรจัดครูในโรงเรียนเป็นกลุ่มตามรายวิชาเรียนเพื่อพัฒนาครูตรงกับความต้องการ สร้างแรงจูงใจเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูด้วยการจัดฝึกอบรม จัดประชุมวิชาการเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ ความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ จัดฝึกอบรมเกี่ยวกับแนวทางและวิธีการพัฒนาด้วยตนเอง และฝึกอบรมวิธีวิจัยให้ครูผู้สอน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาบุคลากร | th_TH |
dc.subject | ครู - - ลาว | th_TH |
dc.subject | ครูสังคมศึกษา - - ลาว | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความต้องการและแนวทางการพัฒนาครูสังกัดแผนกศึกษาธิการและกีฬาจังหวัดหลวงน้ำทา ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว | th_TH |
dc.title.alternative | Needs and guidelines for teacher development under the Department of Education and Sports in Luangnamtha province, Lao People's Democratic Republic | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 10 | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of study were to investigate the needs for teacher development, to set guidelines for development, and to compare the needs for department of Education and Sports, Laung Namtha Province, Lao PDR. The instruments used for collecting the data were five-rating scale the item discrimination was between .35 - .82, and the reliability of the questionnaire was .98 and interview forms. Statistical devices used for analyzing the data were mean, standard deviation, percentage, t - test, and One - Way ANOVA. The results showed that: 1. The needs for teacher development in the five aspects were ranked at the high level and the mean scores were as follows: teacher’s behavioral self - management, student - centered in teaching and learning activities, measurement and evaluation, classroom action research, and utilizing teaching media and technology 2. Comparison of teacher development as classified by working experiences, educational levels, and teaching class levels in five aspects were found non - significant differences. 3. The guidelines for teacher development were suggested that need assessment of teachers should be determined, assigning teachers in subject areas based on their specializations, creation of teacher’s motivation in developing moral and ethical professional standards, organizing academic conferences for enhancing knowledge, skills, and professional capacities, developing teachers for behavioral self management, and organizing training or workshop on research methodology for teachers should be taking place. | en |
dc.journal | วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development | |
dc.page | 56-67. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
edusoc10n1p56-67.pdf | 670.28 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น