กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/316
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัยth
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:26Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:26Z
dc.date.issued2550
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/316
dc.description.abstractการศึกษาสูตรอาหารเม็ดสำหรับการเลี้ยงปลาดุกอุยจากแนวทางการประเมินประสิทธิภาพการย่อยวัตถุดิบอาหารสัตว์ในหลอดทดลองของเอนไซม์ปลาดุกอุย(Clarias macrocephalus) เริ่มทำโดยสกัดเอนไซม์จากกระเพาะอาหารและลำไส้ของปลาดุกอุยเพื่อหาอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการทำงานของเอนไซม์และช่วงอายุที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์ แล้วนำเอนไซม์สกัดมาย่อยวัตถุดิบอาหารสัตว์ในหลอดทดลองเพื่อผลิตสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงปลาดุกอุย เอนไซม์ทริปซินและไคโมทริปซินจากกระเพาะอาหารและลำไส้ของปลาดุกอุยที่อายุ 45 60 75 90 105 และ 120 วัน เมื่อนำไปทำการวัดแอคติวิตีที่ระกฃดับอุณห๓มิ 20 องศาเซลเซียส ถึง 70 องศาเซลเซียส โดยเพิ่มระดับอุณหภมิครั้งละ 5 องศาเซลเซียส โดยใช้ Benzoyl-L-arginine-p-nitroanilide และ N-succinyl-ala-ala-pro-phe-p-nitronilide เป็นสับสเตรทตามลำดับ พบว่า แอคติวิตีของเอนไซม์ทริปซินมีค่าสุงสุดที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส หรือเมื่อปลาดุกอุยมีอายุ 90 วัน ส่วนแอคติวิตีของเอนไซม์ไคโมทริปซินมีค่าสูงสุดที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส หรือเมื่อปลาดุกอุยมีอายุ 60 วัน การย่อยวัตถุดิบอาหารสัตว์ในหลอดทดลองของเอนไซม์ปลาดุกอุย พบว่าปลาดุกอุยสามารถย่อยปลาบ่นได้ดีที่สุด รองลงมาคือกากถั่วเหลือง ดังนั้นกากถั่วเหลืองจึงเป็นวัตถุดิบอาหารที่เหมาะสมในการนำมาทดแทนปลาบ่นในสูตรอาหารปลาดุกอุย จากนั้นจึงนำกากถั่วเหลืองมาแทนปลาบ่นในสูตรอาหารปลาดุกอุย4สุตรที่ 0 20 30 และ 40เปอร์เซ็นต์ โดยทุกสูตรมีโปรตีน 35 เปอร์เซ้นต์และไขมัน 10 เปอร์เซ้นต์เท่ากัน เลี้ยงปลาดุกอุยน้ำหนัดเฉลี่ย 5.32+-0.47 กรัมเป็นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า ปลาดุกอุยที่เลี้ยงด้วยอาหารทดลองสูตรที่ 2 และ 3 ซึ่งมีกากถั่วเหลืองทดแทนปลาบ่นที่ 20 และ 30 เปอร์เซ็นต์ ให้อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน อัตราเจริญเติบโตจำเพาะ อัตราการแลกเนื้อ และประสิทธิภาพการใช้โปรตีนในอาหารต่ำกว่าสูตรควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) แสดงว่ากากถั่วเหลืองสามารถทดแทนปลาบ่นในสูตรอาหารได้ไม่เกิน 30 เปอร์เซ็นต์th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปลา - - อาหารth_TH
dc.subjectปลาดุกอุย - - การเลี้ยงth_TH
dc.subjectปลาดุกอุย - - อาหาร - - วิจัยth_TH
dc.subjectปลาดุกอุยth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการผลิตอาหารเม็ดสำหรับการเลี้ยงปลาดุกอุยด้วยแนวทางการศึกษาประสิทธิภาพการย่อยอาหารth_TH
dc.title.alternativeFormulation of catfish (clarias macrocephalus) pellet by digestibility approachen
dc.typeResearch
dc.year2550
dc.description.abstractalternativeProduction of catfish (Clarias macrocephalus) diet was developed based on evaluation of trypsin and chymotrypsin activities and in vitro enzyme digestibility of crude enzyme extract from catfish. Stomach and intestine were collected from fish at 45, 60, 75, 90, 105 and 120 day-old for assessment of enzyme activity at 20-70 ' C using Benzoyl-L-arginine-p-nitroanilide and N-succinyl-ala-ala-pro-phe-p-nitronilide as substrates for trypsin and chymotrypsin, respectively. The optimum temperature for activity of trypsin and chymotrypsin was 55 ' C and 40 ' C,respectively. Highest level of trypsin and chymotrypsin activity was observed from catfish at the age of 90 and 60 days, respectively. In vitro digestibility of feedstuff showed that extracted enzyme digested fishmeal more efficiently than other feedstuffs (P < 0.05). Soybean meal was shown to be the most suitable feedstuffs for replacement of fishmeal in diet. Four experimental diets containing 35% protein and 10% lipid were formulated at 0%, 20%, 30% and 40% of fish meal replacement with soybean meal. Catfish with an initial weight of 5.32+-0.47 gm was reared for 10 weeks with pellets to compare feed utilization and growth performance. There was no significant difference (p>0.05) in average daily weight gain (ADG), specific growth rate (SGR), food conversion efficiency ratio (FCR), protein efficiency ratio (PER) and survival rate between diets 2 and 3 (fish meal replacement by soybean meal at 20% and 30%, respectively), as compared to the control. Fish fed with diet 4 (fish meal replacement by soybean meal at 40%) had significantly reduced performance (p<0.05) in average weight, percentage weight gain, ADG, FCR, SGR and PER, compared to the control. Incorporation of soybean meal in catfish diet for replacement of fish meal can be achieved at the level less than 30%.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น