กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3156
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorประทุม ม่วงมี
dc.contributor.authorสุจินดา ม่วงมี
dc.contributor.authorนฤนาท สกนธ์รวีนาถ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2019-03-25T09:21:20Z
dc.date.available2019-03-25T09:21:20Z
dc.date.issued2540
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3156
dc.description.abstractปัจจับันมีเกณฑ์หลายเกณฑ์ที่ใช้บอกสัดส่วนของร่างกาย เกณฑ์ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ น้ำหนักและส่วนสูง เกณฑ์ดังกล่าวถึงถึงแม้ว่าจะใช้ง่าย สะดวก แต่สะท้อนให้เห้นถึงการเจริญเติบโต พัฒนาการ สุขภาพ และสมรรถภาพทางกายได้ในวงที่ค่อนข้างจำกัด ปริมาณความหนาของผิวหนังพับ และเนื้อเยื่อไขมันในร่างกายเป้นสิ่งที่วัดได้ยากกว่า แต่ก็สะท้อนให้เห้นถึงสุขภาพและสมรรถนภาพของผู้ที่กำลังเจริญเติบโต พัฒนาการ และการคงสภาพชีวิตของคนได้ดีกว่าการพิจารณาจากน้ำหนักและส่วนสูง ทำให้วิธีการดังกล่าวได้รับความนิยมที่จะนำมาใช้เป็นเกณฑ์ประเมินตัวแปรต่าง ๆ มากยิ่งขึ้นในปัจจุบัน เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป้นของคนไทย การวิจัยครั้งนี้จึงมีขึ้นเพื่อศึกษาปริมาณเนื้อเยื่อไขมันในร่างกายเด็กว่ามีมากน้อยเพียงไร กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มแบบ แบ่งกลุ่มเป็นนักเรียนโรงเรียนอนุบาลจังหวัดทั้ง 8 ของภาคตะวันออก ปีการศึกษา 2533 จำนวน 1,435 คน (ชาย 735 คน หญิง 700 คน) Lange Skinfold caliper (cambridge Scientific Corp. U.S.A.) และเครื่องชั่งน้ำหนัก Westa 9Germany) เป้นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล การวัดความหนาของผิวหนังพับ วัดที่ปริมาณ Triceps, Subscapula และ Suprailiac ตามหลักและวิธีการที่ sinning ได้แนะนำไว้โดยถือความแม่นตรงที่ 5% accuracy เป็นเกณฑ์ ความหนาแน่นของร่างกายคำนวณโดยใช้สูตรของ Shephard และ Shephard และคณะ การคำนวณหาปริมาณเนื้อเยื่อไขมันใช้สูตรของ brozek ข้อมูลที่รวบรวมได้แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างที่เป็นเด็กหญิงมีปริมาณเนื้อเยื่อไขมันในร่างกาย (เทียบเป็น % ของน้ำหนักตัว) 18.1 19.0 20.4 21.5 21.6 และ 22.9% ที่อายุ 7 8 9 10 11 และ 12 ปี ตามลำดับ เด็กชายมีปริมาณเนื้อเยื่อไขมันในร่างกาย 15.1 15.8 17.8 19.8 และ 19.8% ในช่วงอายุเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักและส่วนสูงของเด็ก ตลอดจนการเปรียบเทียบกับผลการศึกษาวิจัยที่ศึกษาในเด็กไทย และต่างประเทศจะหล่าวถึงในตอนผลและการอภิปรายผลth_TH
dc.language.isoength_TH
dc.subjectโรคอ้วนth_TH
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleปริมาณเนื้อเยื่อไขมันในร่างกายเด็กที่ศึกษา ในโรงเรียนอนุบาล จังหวัดของภาคตะวันออกth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume1
dc.year2540
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา = Journal of exercise & sport science.
dc.page25-36.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p22-36.pdf597.19 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น