กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3093
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมศักดิ์ ลิลา | |
dc.contributor.author | กานต์นะรัตน์ จรามร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:21:16Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:21:16Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3093 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการส่งเสริมสุขภาพ พัฒนารูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีส่วนร่วมแบบเสริมสรา้งพลังอำนาจและสึกษาผลการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการมีส่วนร่วมแบบเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาได้แก่ แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว จำนวน 295 คนในระยะแรกและจำนวน 30 คนในระยะสุดท้าย เครื่องมือที่ใช้ได้แก่แบบสอบถามการมีส่วนร่วม ด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนและแบบสอบถามพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการส่งเสริมสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานโดยใช้โปรแกรม LISREL 8.72 เพื่อวิเคราะห์โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุ ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีดิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชน ด้านการส่งเสริมสุขภาพมากที่สุด ได้แก่ การติดต่อสื่อสาร รองลงมาคือ แรงจูงใจเจตคติต่อการมีส่วนร่วม ส่วนบรรยากาศองค์การมีอิทธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการส่งเสริมสุขภาพโดยรูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการมีส่วนร่วมแบบเสริมสรา้งพลังอำนาจที่พัฒนาขึ้นได้แก่ หลักสูตรพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการส่งเสริมสุขภาพซึ่งผลการใช้รูปแบบ พบว่า การมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการส่งเสริมสุขภาพหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การส่งเสริมสุขภาพ - - การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.subject | วิจัยเชิงปฏิบัติการ | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การวิจัยเชิงปฏิบัติการมีส่วนร่วมแบบเสริมสร้างพลังงานอำนาจที่มีต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการส่งเสริมสุขภาพ | th_TH |
dc.title.alternative | Themodel of empowerment participatory action research with the community participation in health promotion | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 10 | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study influence of factors affecting effective the community participation behavior in health promotion, building the model of empowerment participatory action research and study the effects of the model of empowerment participatory action research with the community participation behavior in health promotion. The sample consisted of 295 family health leader in first phase and 30 family health leader in final. The research instrument included the community participation in health promotion and the community participation behavior in health promotion. Data were analyzed by basic statistical analysis program, the causal relationship model through LISREL 8.72 and the content analysis was also used. The indicated that the influence of factors affecting effective the community participation behavior in health promotion from the higher effects toward least effects as the following results; communication, motivation and attitude toward participation. Indirect effective the community participation behavior in health promotion was organization climate. The model of empowerment participatory action research was the the community participation in health promotion of family health leader competency development program. And the finding was significant of the community participation in health promotion between pretest and posttes groups. | en |
dc.journal | วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development | |
dc.page | 234-244. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
edusocial10n2p234_244.pdf | 157.16 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น