กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3092
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorคงรัฐ นวลแปง
dc.contributor.authorดารณี ศักดิ์แสนศิลป์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:21:16Z
dc.date.available2019-03-25T09:21:16Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3092
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ STAD กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ หัวข้อที่ใช้คือ เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบางละมุง อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งหลุ่ม (Cluster Random Sampling) จำนวน 2 ห้อง จากนั้นสุ่มตัวอย่างง่ายโดยใช้ห้องเรียนเป้นหน่วยในการสุ่มเพื่อกำหนดเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบ STAD และแบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรีนรู้แบบ STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ STAD มีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการทำงานกลุ่มในการศึกษาth_TH
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ - - กิจกรรมการเรียนการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectตรีโกณมิติ - - กิจกรรมการเรียนการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th_TH
dc.title.alternativeEffects of STAD learning activities on Trigonometric Ratio of Matthayom 4 studentsen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume10
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to compare mathematics learning achievement between before and after STAD learning activities 2) to compare mathematics learning achievement and mathematics problem solving ability between the students who learned via STAD learning activities and traditional learning activities; The topic under study were Trigonometric Ratios for M.S. 4. The subjects under study were 2 classes of Matthayom 4 students of Banglamung School in Banglamung District of Chonburi in the 2 nd semester of year 2013 derived by Cluster Random Sampling then randomly assigned into the experimental and control group. The instruments included the STED learning plans, the traditional learning plans, the mathematics learning achievement test and the mathematics problem solving ability test. The statistics and mean, stansard variation and test. The findings were as follows: 1. The mathematics learning achievement of the students who learned via STAD learning activities was significantly higher than before learning activities at the .01 level. 2. The mathematics learning achievement of the students who learned via STAD learning activities was significantly hifher than the students who learned via traditional learning at the .01 level. 3. The mathematics problem solving ability of the students who learned via STAD learning was significantly higher yhan the students who learned via traditional learning at the .01 level.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page223-233.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusocial10n2p223_233.pdf145.87 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น