กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/308
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุภาภรณ์ ด้วงแพง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:25Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:25Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/308 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการจัดการด้วยตนเองสำหรับผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้น กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังซึ่งเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 25 ราย กระบวนการวิจัยอาศัยความร่วมมมือระหว่างผู้วิจัยอาศัยความร่วมมือระหว่างผู้วิจัย ผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและครอบครัว และบุคลากรสุขภาพ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2547 ถึงเดือนธันวาคม 2549 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และการตอบแบบประเมิณการรับรู้ความสามารถในการจัดการภาวะหายใจลำบากเรื้อรังด้วยตนเอง และแบบประเมินสภาวะอาการหายใจลำบาก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงบรรยาย และ Wilcoxan Rigned Rank Test ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการจัดการภาวะหายใจลำบากด้วยตนเองสำหรับผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ประกบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ 1) การสร้างสัมพันธภาพและการคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดี ระหว่างบุคลากรสุขภาพ กลุ่มตัวอย่าง และครอบครัว 2) การสร้างความตระหนักถึงในความรับผิดชอบต่อตนเอง 3) การปฏิบัติตามแนวคิดการจัดการตนเอง 4) การประเมินความต้องการการเรียนรู้และให้ความรู้หรือฝึกทักษะอย่างต่อเนี่อง 5) การเรียนรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์เดียวกัน 6) การจัดสิ่งแวดล้อมและระบบบริการที่เอื้อต่อการเรียนรู้เพื่อการจัดการด้วยตนเอง 7) การสนับสนุนจากบุคลากรสุขภาพและครอบครัว 8) การดูแลอย่างต่อเนื่องและครอบคลุมองค์รวม 9) การให้ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลางการดูแล และ 10)ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง ผลการประเมินรูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการจัดการภาวะหายใจลำบากเรื้อรังด้วยตนเองสำหรับผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมการวิจัยมีคะแนนเฉลี่ยของความสามารถในการจัดการภาวะหายใจลำยบากเรื้อรั้งด้วยตนเองสูงกว่าการเข้าร่วมการวิจัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (Z = 4.34, p < 0.01) และมีคะแนนเฉลี่ยสภาวะหายใจลำบากหลังเข้าร่วมการวิจัยต่ำกว่าก่อนเข้าร่วมการวิจัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ( Z = 4.48, p < 0.01) รูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการจัดการภาวะหายใจลำบากเรื้อรังด้วยตนเองสำหรับผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้สามารถให้แนวทางในการส่งเริมความสามารถในการจัดการด้วยตนเอง สำหรับผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและการวิจัยต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับเงินอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2547 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง | th_TH |
dc.subject | การหายใจลำบาก | th_TH |
dc.subject | ทางเดินหายใจ - - โรค | th_TH |
dc.subject | ปอด - - โรค | th_TH |
dc.subject | ระบบหายใจ - - โรค | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการจัดการภาวะหายใจลำบากเรื้อรังด้วยตนเองสำหรับผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2547 | |
dc.description.abstractalternative | This action research study aimed at developing the model for promoting competency in chronic dyspnea self-management for people with chronic obstructive pulmonary disease (COPD). Purposive sampling was used to select 25 adults with COPD. The research process was based on mutual collaborative approach among the researcher, people with COPD, their families and health care providers. The study was conducted from January 2004 to March 2006. Data were collected through in – depth interviews focus group interview, and using two assessment forms perceived competency in chronic dyspnea self- management scale and Dyspnea Visual Analogue Scale (DVES). The qualitative data were analyzed using content analysis. The quantitative data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and Wilcoxan Signed Rank test. The results of study showed that model for promoting competency in chronic dyspnea self – management for patients with COPD consisted of building and maintaining relationship , promoting self – responsibility awareness, practicing of self – management , sharing with others , continuing learning need assessment and teaching chronic dyspnea self-management skill, providing environment support, continuing and holistic care, patient and family center – care , and enhancing confidence in patient’s own capacities. This study revealed that developing the model for promoting competency in chronic dyspnea self – management for patients with COPD effected to patients to perceive the high competency in chronic dyspnea self – management (Z = 4.34, p < 0.01) and decreased dyspnea status significantly (Z = 4.48, p <.001). These findings can be used as a guideline for promoting competency in chronic dyspnea self – management for people with chronic obstructive pulmonary disease as well as conducting further research. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_045.pdf | 5.7 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น