กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3086
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์ | |
dc.contributor.author | รุ่งทิพย์ เฉกแสงทอง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:21:15Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:21:15Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3086 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 โดย จำแนกตามเพศวุฒิการศึกษา และเขตอำเภอที่ตั้ง รวมทั้งหาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครู กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 296 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง.01--.78 และ .28-..70 มีค่าความเชื่อมั่นเป็น .90 และ .93 สถิติที่ใช้ได้แก่ คะแนนเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบค่าที และสหสัมพันธ์แบบเพียสัน ผลการวิจัยพบว่า 1. สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวมอยูาในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อเรียงลำดับค่าเฉลียจากมากไปหาน้อยสามอันดับแรก ได้แก่ ด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ ด้านศักยภาพในการเป็นผู้นำ และด้านความเฉียบคมทางการบริหาร 2. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยสามอันดับแรก ได้แก่นโยบายและการบริหารเงินเดือนและผลประโยชน์เกื้อกูล ความสำเร็จในหน้าที่การงาน 3. เปรียบเทียบสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามสถานภาพดังนี้ จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ จำแนกตามวุฒิการศึกษา โดบรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ จำแนกตามเขตอำเภอที่ตั้ง โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4. เปรียบเทียบความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครู จำแนกตามสถานภาพดังนี้ จำแนกตามเพศ จำแนกตามเขตอำเภอที่ตั้ง จำแนกตามวุฒิการศึกษา โดยรวมและรายด้านบางด้าน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 5. ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครู ทั้งโดยรวมและรายด้านทุกด้าน มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ครู - - ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | ความสามารถทางการบริหาร | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน | th_TH |
dc.subject | สมรรถนะ | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | The relationship between competency of school principals and job satisfaction of teachers in schoold under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1 | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 10 | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to investigate level and compare leadership competency of school principals and job satisfaction of teacher under the Office of Chonburi Educational Service Area 1, as classified by, gender, education level, and school location, as well as, to find relationship between leadership competency and job satisfaction. The sample consisted of 296 primary school teachers. The research instrument were five rating-scale questionnaires. The items discrimination value was between .21-.78 and .28-.70 and reliability vale was .90 and .93. The statistical devices employed for the data analysis were mean, standard deviation, one-way analysis of variance, t-test and pearson's product moment simple correlation. The finding revealed that; 1. The competency of school principals as a whole, was rated at a high level. Considering by dimension by priority were result driven, leading people driven, and business acumen. 2. Teacher's job satisfaction as a whole was rated at a high level. Considering by dimension, by priority, were policy and administration, salary and beneficial welfare, as well as works achievement. 3. Comparing the competency of school principals by gender as a whole, and by dimension, there was no statistical significance, by education level as wholem and by dimension, there was statistical no significance, by location, as a whole there was statistical significance difference. 4. Comparing the teachers performance satisfaction by gender, location and educational level, as a whole and some dimension, there was no significant difference. 5. There was a positive significant relationship between competency of school principals and teachers performance, as a whole and by dimension, with the statistical significance at the level of .05 | en |
dc.journal | วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development | |
dc.page | 145-154. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
edusocial10n2p145_154.pdf | 136.33 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น