กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2934
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอนงค์ วิเศษสุวรรณ์
dc.contributor.authorวรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
dc.contributor.authorโชคชัย ทัพทวี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:20:07Z
dc.date.available2019-03-25T09:20:07Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2934
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดหมายเพื่อศึกษาผลการเสริมสร้างความสามารถในการเข้าใจความสึกผู้อื่นของผู้ดูแลผู้ติดสารเสพติดด้วยการปรึกษากลุ่มแบบยึดบุคคลเป็นศูนย์กลาง กลุ่มตัวอย่างในการวิเคราะห์ครั้งนี้ได้แก่ ผู้ดูแลผู้ติดสารเสพติดในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติดบ้านเพียรพิทักษ์ที่สมัครใจเข้ารับการปรึกษา จำนวน 12 คน โดยใช้เวลาในการทดลอง 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที รวมเป็นเวลาทั้งหมด 12 ครั้งเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนทดลอง ระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล เครื่องมือที่ใช้คือ แบบประเมินความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกผู้อื่นและโปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบยึดบุคคลเป็นศูนย์กลาง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ และเมื่อพบความแตกต่างเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีบอนเฟอร์รอนนิ ผลการวิจัยพบว่า เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลผู้ติดมีความสามารถในการเข้าใจความรู้ผู้อื่นในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการร่วมรู้สึกth_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectคนติดยาเสพติด - - การฟื้นฟูสมรรถภาพth_TH
dc.subjectผู้ดูแลth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการเสริมสร้างการเข้าใจความรู้สึกผู้อื่นด้วยการปรึกษากลุ่มแบบยึดบุคคลเป็นศูนย์กลางของผู้ดูแลผู้ติดสารเสพติดในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดth_TH
dc.title.alternativeEnhancing empathy through person-centered group counseling of staff in a rehabilitation centeren
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume26
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study effects of person-centered group counseling on Empathy of staff in a rehabilitation center. The participants in this research were caregivers in rehab drug addiction and rehabilitation of Pianpitak Drug free house who volunteered to participate in counseling sessions (n=12X. The data collection period was four weeks, three Times a week and 45 minutes in each session (12 times in total). The data collection procedure was divided into three phases: the pre-test, the post-test, and the follow-up. The instruments were the Empathy Assessment Index (EAI) and the person-centered group counseling program. The data analysis was conducted by using Analysis of Variance with Repeated Measures and the Bonferroni tecgnique. The research result was that the participants demonstrated significantly higher empathy Score at the .05 level in both the post-test and the follow-up than in the pre-test.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education, Burapha University
dc.page130-144.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edu26n2p130-144.pdf244.79 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น