กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2933
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร
dc.contributor.authorไพศาล แมลงทับทอง
dc.contributor.authorคงรัฐ นวลแปง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:20:07Z
dc.date.available2019-03-25T09:20:07Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2933
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที 4 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัยกับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการสื่อสารด้านการเขียนทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัยกับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 44 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 7 แผน 2) แบบวัดความสามารถในการให้เหตุผลและความสามารถในการสื่อสารด้านการเขียนทางคณิตศาสตร์ มีค่าความเชื่อมั่น 0.84 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test for One sample) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระกับ 0.01 2. ความสามารถในการสื่อสารในการสื่อสารด้านการเขียนทางคณิตศาสตร์ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอุปนัยและนิรนัยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) ความสามารถทางคณิตศาสตร์th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ - - กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectความสามารถในการให้เหตุผลth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบอุปนัยและนิรนัยที่มีต่อความสามารถในการให้เหตุผล และความสามารถในการสื่อสารด้านการเขียนทางคณิตศาสตร์ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th_TH
dc.title.alternativeThe effects of organizing inductive and deductive learning on mathematical reasoning and written communication abilities in numbers theory of Mathayomsuksa four studentsen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume26
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to compare mathematical reasoning ability in number Theory for Mathayomsuksaksa four students after organizing inductive and deductive learning and 2) to compare mathematical written communication ability in number theory for Mathayomsuka four students after organizing inductive and deductive learning. The particitants, selected by the cluster random sampling technique, were 44 Mathayomsuksa four students of the academic year B.E. 1/2557. The research instrument used in this research Consisted of seven number theory lesson plans and Mathematic reasoning and written communication ability test with the reliability of 0.84. The statistical techniques established for analyzing the data were mean, standard deviation, and one sample t-test. Research results found that: 1. Mathematical reasoning ability in number theory for Mathayomsuksa four after organizing inductive and deductive learning was higher than the criterion of 70% at the 0.01 level. 2. Mathematical written communication ability in number in number theory for Mathayomsuksa Four after organizing inductive and deductive learning was higher than the criterion of 70% at the 0.01 level.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education, Burapha University
dc.page102-113.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edu26n2p102-113.pdf209.29 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น