กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2805
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวันชัย วงสุดาวรรณ
dc.contributor.authorอาวุธ หมั่นหาผล
dc.contributor.authorฉลวย มุสิกะ
dc.contributor.authorแววตา ทองระอา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:54Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:54Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2805
dc.description.abstractการบริโภคอาหารทะเลที่มีการปนเปื้อนโลหะหนักอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ การศึกษานี ้มีวัตถุประสงค์ เพื่อตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนโลหะหนัก 5 ชนิด ได้แก่ ปรอท ตะกั่ว แคดเมียม สังกะสี และ ทองแดง ในอาหารทะเลที่ได้จากบริเวณชายฝั่งนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง และประเมิน ความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคอาหารทะเลเหล่านี้ ตัวอย่างอาหารทะเลชนิดต่าง ๆ ที่ใช้ในการศึกษาทั้งสิ้น 36 ชนิด จำนวน 369 ตัวอย่างซึ่งเก็บตัวอย่างโดยใช้อวนลากแผ่นตะเฆ่ ในเดือนพฤษภาคม เดือนกันยายน พ.ศ. 2550 และ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2551 ผลการศึกษา พบว่าโลหะหนักในอาหารทะเล ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 84.8) อยู่ในระดับที่ปลอดภัยสำหรับการบริโภค พบโลหะหนักสูงเกินมาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 15.2 ของตัวอย่างทั้งหมด โดยโลหะหนักที่ตรวจพบสูงเกินมาตรฐานเรียงตามลำดับ คือ ทองแดง สังกะสี และแคดเมียม ซึ่งส่วนใหญ่พบใน กุ้ง หอย และหมึกบางชนิด การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจาก การบริโภคอาหารทะเลในบริเวณดังกล่าว พบว่าการปนเปื้อนโลหะหนัก ในอาหารทะเลยังไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพจึงยังคงปลอดภัยในการบริโภค ยกเว้นผู้บริโภคอาจมีความเสี่ยงในการได้รับทองแดง เกินกำหนดจากการบริโภคกั้งตั๊กแตนและแคดเมียมจากการบริโภคหอยเชลล์th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการปนเปื้อนในอาหารth_TH
dc.subjectการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectอาหารทะเลth_TH
dc.subjectโลหะหนักth_TH
dc.titleการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการได้รับโลหะหนักจากการบริโภคอาหารทะเล บริเวณชายฝั่งนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยองth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume19
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeConsumption of seafood contaminated with heavy metals may cause adverse effects on human health. This study was carried out to determine the concentrations of Hg, Pb, Cd, Zn and Cu in seafood samples from the coastal area of Map Ta Phut industrial estate, Rayong Province and to assess the potential health risk to seafood consumers. A total of 369 samples (involving 36 species of fish and shellfish) taken with an otter trawl net in May, September 2007 and March 2008 were included in this study. Results indicated that the concentrations of heavy metals in most of the seafood samples (84.8%) were within the standard established for safe consumption by humans. There were only 15.2 % of total samples having the concentrations of heavy metals over the standard. Those heavy metals were Cu, Zn and Cd, respectively, which were found in most of shellfish samples. Results of the health risk assessment of consumption of the seafood indicated that the seafood under this investigation posed no hazard to human health, except consumers may pose a health risk from Cu in mantis shrimps and Cd in scallops over the food safety limiten
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal
dc.page39-54.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
sci19n2p39-54.pdf619.61 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น