กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2798
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสวามินี ธีระวุฒิ
dc.contributor.authorอัครพล นางแล
dc.contributor.authorราตรี คำหอม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:53Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:53Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2798
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาหอยนางรมปากจีบสดแกะเปลือกโดยการศึกษาผลของการแช่สารละลายผสมร่วมกับการแช่เย็นต่อ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมี จุลชีววิทยาและประสาทสัมผัสของหอยนางรมปากจีบสดแกะเปลือกที่แช่ในน้ำประปา (ชุดควบคุม) และน้ำประปาที่มีโพแทสเซียมซอร์เบตและ/ หรือโซเดียมแล็กเตตผสมอยู่ในระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน 4 ระดับ ดังนี้ สารละลาย โพแทสเซียมซอร์เบต 3% (Ps), สารละลายโซเดียมแล็กเตต 2.5% (Sl), สารละลายผสมระหว่างโซเดียมแล็กเตต 1.5% และโพแทสเซียมซอร์เบต 1.5% (SP1) สารละลายผสมระหว่างโซเดียมแล็กเตต 2.5% และโพแทสเซียมซอร์เบต 3% (SP2) แล้วน้ำไปเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4±1 องศาเซลเซียส ผลการศึกษาพบว่าหอยนางรมปากจีบสดแกะเปลือกที่แช่ใน SP2 มีการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมีน้อยที่สุด (p<0.05) โดยมี TVB-N และ TMA-N ต่ำกว่าชุดการทดลองอื่น ส่วนการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางจุลชีววิทยาของหอยนางรมปากจีบสดแกะเปลือก ที่แช่ใน SP2 นั้นเกิดขึ้นต่ำกว่าการแช่อื่นเช่นกัน เมื่อพิจารณาจากจำนวนจุลินทรีย์ไม่เกิน log 6 cfu/g ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พบว่า การแช่ใน SP2 มีจำนวนจุลินทรีย์เกินค่ามาตรฐานในวันที่ 8 ของการเก็บรักษา ขณะที่การแช่ใน Ps, Sl และ SP1 มีจำนวนจุลินทรีย์ เกินค่ามาตรฐานในวันที่ 6 ของการเก็บรักษาตามลำดับเหมือนกัน ส่วนการแช่ใน C มีจำนวนจุลินทรีย์เกินค่ามาตรฐานในวันที่ 2 ของการ เก็บรักษา และคุณภาพทางประสาทสัมผัสให้ผลที่สอดคล้องกันโดยการแช่ใน SP2 มีการยอมรับสูงกว่าสภาวะการแช่อื่นๆ ตลอดระยะเวลา การเก็บรักษา โดยเก็บรักษาได้ 7 วัน ส่วนการแช่ใน Sl และ SP1 เก็บรักษาได้ 5 วัน การแช่ใน Ps เก็บรักษาได้ 4 วัน เปรียบเทียบกับตัวอย่างชุดควบคุมมีอายุการเก็บรักษานาน 2 วันth_TH
dc.language.isoength_TH
dc.subjectโพแทสเซียมซอร์เบทth_TH
dc.subjectหอยนางรม - - การเก็บและรักษาth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการยืดอายุการเก็บรักษาหอยนางรมปากจีบ (Saccostrea cucullata) สดแกะเปลือกด้วย การแช่สารละลายผสมร่วมกับการแช่เย็นth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume19
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThis research aims to retarding shelf-life of shucked fresh oyster (Saccostrea cucullata) by mixed solution soaking in combination with storage at low temperatures. The study was based on chemical, microbiological and sensorial changes occuring in the oyster samples were soaked in tap water contain potassium sorbate and / or sodium lactase mixture in concentrations varying 4. level as follow; Ps (3% potassium sorbate), Sl (2.5% sodium lactate), SP1 (1.5% sodium lactate and 1.5% potassium sorbate), SP2 (2.5% sodium lactate and 3% potassium sorbate) and tab water (control) at 4±1๐ C. It was found that in chemical qualities of SP2 storaged samples was the lowest changes (p<0.05), which TVB-N and TMA-N values were lower than those storage conditions. It also was found that in SP2 storaged samples had the lowest microbiological qualities changes Considering the criteria of microbiology is less than log 6 cfu/g, the total plate counts of SP2 storaged samples were higher than the standard number of microorganisms on day 8 of storage while Ps, Sl and SP1 were higher than standard on day 6 storage and control sample were higher than standard on day 6 storage. Sensory qualities of SP2 storaged samples were higher acceptable score than those storaged conditions throughout the storage of 7 days. While Sl and SP1 storaged samples were 5 days storage and Ps was 4 days storage compared with 2 days storage for control sample.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal.
dc.page119-130.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
119-130.pdf392.84 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น