กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2796
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorไพฑูรย์ กันสิงห์
dc.contributor.authorสันติพงษ์ ปลั่งสุวรรณ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:53Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:53Z
dc.date.issued2552
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2796
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารจัดการกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัยที่เหมาะสมกับบริบทในมหาวิทยาลัยของรัฐ ได้ดำเนินการตามขั้นตอน คือ การสรา้งรูปแบบการบริหารจัดการกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัย โดยศึกษาข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญโดยวิธีเทคนิคเดลฟาย จากนั้นเป็นการตรวจสอบความเหมาะสมในการนำไปใช้ของรูปแบบการบริหารจัดการกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัยจากผู้ที่รับผิดชอบด้านการปฏิบัติงานหน่วยงานทางกีฬาในมหาวิทยาลัยของรัฐ และการวิพากย์และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารจัดการกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัย โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารงานและด้านการปฏิบัติงานกีฬาในมหาวิทยาลัยของรัฐ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริหารจัดการกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัยที่มีความเหมาะสมกับบริบทในมหาวิทยาลัยของรัฐ มีรูปแบบดังนี้ ด้านการวางแผน มีการกำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและวัตถุประสงค์การดำเนินงานกีฬาเพ่อมวลชนในมหาวิทยาลัยอย่างชัดเจน ด้านการจัดองค์การ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นตัวแทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในมหาวิทยาลัย ด้านการปฏิบัติการ มีการประชาสัมพันธ์ มีขั้นตอนการดำเนินงาน การฝึกอบรมและสัมมนาผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัย ด้านการควบคุม มีระบบวิธีการติดตาม ตรวจสอบ สรุป และการปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องและแนวทางการจัดกิจกรรมกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัย ได้แก่ กีฬาสากล กีฬาพื้นบ้าน กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมการออกกำลังกาย กิจกรรมการเคลื่อนไหวเป็นจังหวะ และกิจกรรมตามความสนใจของนิสิต สรุปรูปแบบการบริหารจัดการกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัย ประกอบด้วยโครงสร้างของรูปแบบของแต่ละด้านมีองค์ประกอบที่เป็นกระบวนการดำเนินงาน คือ ด้านการวางแผน มีองค์ประกอบจำนวน 10 ข้อ ด้านการจัดองค์การ มีองค์ประกอบจำนวน 9 ข้อ ด้านการปฏิบัติการ มีองค์ประกอบ จำนวน 7 ข้อ ด้านการควบคุม มีองค์ประกอบ จำนวน 5 ข้อ และแนวทางการจัดกิจกรรมกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัย มีองค์ประกอบ 19 จากการตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการบริหารจัดการกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัยพบว่า มีความเหมาะสมในการนำไปใช้ปฏิบัติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการกีฬาth_TH
dc.subjectการจัดการth_TH
dc.subjectการบริหารการกีฬาth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleรูปแบบการบริหารจัดการกีฬาเพื่อมวลชนในมหาวิทยาลัยth_TH
dc.title.alternativeManagement model of sport for all program in the universityen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume6
dc.year2552
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research is to develop university sport for all administration model, which is applicable for public university context. The study was conducted by the following methods. Frist, the university sport for all administration model was constructed with the information obtained from the the experts by applying the Delphi Technique. The the university sport for all administration model was examined for the appropriateness of plication by the concerned staff taking responsibility in the sport department of the public university. The university sport for all administration model was also examined for the criticrize and advise by the administrative and sport performance scholars in the public university. The statistics used were median, interquartule range, mean, and standard deviation. The findings of the study reavealed the appropriate university sport for all administration model, which is applicable for public university context as follows: Firstly, the model must inclue clear planning, visions, missions, and objectives. Secondly, the organizational management must have committees who are the representatives from the concerned departments in the university. Third, the operation must include public relations, the operational procedures, and training course for the concemed staff. Fourthly, the controlling must include the following up, examining, summarizing, and improving systems continuously. Lastly, the arrangement of university sport for all administration activities must include intermational, traditional sports and leisure, exercise activities, rhythmic activities, and other activities according to students' attentions. In conclusion, the university sport for all administration model consisted of 4 dimensions in structure model. Each dimension contains the components, which are operational process. They are planing including 10 components, organizational management including 9 components, operation including 7 components, and controlling including 5 components, and the university sport for all administration activities arrangement including 19 components. The investigation for the appropriateness and possibility of the model revealed that the model was possible for the application.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา
dc.page62-76.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
62-76.pdf166.55 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น