กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2795
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิเชียร ชาลี
dc.contributor.authorปุณยวีร์ นิลรัตน์
dc.contributor.authorวัฒนา พุธโธทา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:53Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:53Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2795
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการประเมินการแทรกซึมของคลอไรด์ระยะยาวในคอนกรีตภายใต้สิ่งแวดล้อมทะเล จากผลทดสอบ โดยวิธี Bulk diffusion test โดยใช้ส่วนผสมคอนกรีตที่แทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ด้วยเถ้าถ่านหินจากแม่เมาะ ในอัตราส่วนร้อยละ 0 15 25 35 และ 50 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน และมีอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.45 0.55 และ 0.65 (ส่วนผสมเดียวกับคอนกรีตที่แช่ในสิ่งแวดล้อมทะเลเป็นเวลา 12 ปี ) หล่อตัวอย่างคอนกรีตทรงกระบอกขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 100 มม. สูง 200 มม. เพื่อทดสอบการแทรกซึมของคลอไรด์โดยวิธี Bulk diffusion test (แช่ตัวอย่างคอนกรีต ในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เข้มข้น 2.8 โมลาร์เป็นเวลา 35 วัน) นอกจากนั้น ได้เก็บตัวอย่างคอนกรีตที่แช่ในน้ำ ทะเลบริเวณน้ำขึ ้นน้ำลงเป็นเวลา 12 ปี มาทดสอบการแทรกซึมของคลอไรด์โดยใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย ผลการศึกษาพบว่า การใช้เถ้าถ่านหินแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ในปริมาณที่มากขึ ้น ส่งผลให้การแทรกซึมของคลอไรด์ที่ทดสอบ โดยวิธี Bulk diffusion test มีแนวโน้มลดลง และเป็นไปในทิศทางเดียวกับสัมประสิทธิ์การแทรกซึมของคลอไรด์ในคอนกรีต หลังแช่ในสิ่งแวดล้อมทะเลเป็นเวลา 12 ปี นอกจากนั้น คอนกรีตที่มีอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานที่ต่ำลง ส่งผลให้การแทรกซึม ของคลอไรด์ในคอนกรีตธรรมดามีค่าลดลงมากกว่าคอนกรีตที่ผสมเถ้าถ่านหิน การศึกษาครั้งนี้ สามารถประเมินการแทรกซึม ของคลอไรด์ในคอนกรีตที่แช่ในสิ่งแวดล้อมทะเลระยะยาว จากผลการทดสอบโดยวิธี Bulk diffusion test ได้th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการแทรกซึมth_TH
dc.subjectคลอไรด์th_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.subjectเถ้าถ่านหินth_TH
dc.titleการประเมินการแทรกซึมของคลอไรด์ระยะยาวในคอนกรีตภายใต้สิ่งแวดล้อมทะเลจาก ผลทดสอบโดยวิธี Bulk diffusion testth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume20
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to evaluate the long term chloride penetration of concrete under marine environment from the Bulk diffusion test method. Fly ash concretes were cast by using fly ash from Mae Moh power plant to partially replace Portland cement type I at percentages of 0, 15, 25, 35 and 50 by weight of binder. Water to binder ratios (W/B) were varied at 0.45, 0.55, and 0.65. (the same mix proportions of concrete exposed to marine site for 12 years). The cylindrical specimen with 100-mm in diameter and 200-mm in height were cast for Bulk diffusion test (concrete specimens were exposed to 2.8 M of NaCl concentration for 35 days). In addition, water soluble chlorides in the concrete were measured after the concrete was exposed to the tidal zone for 12 years. The results show that the chloride penetration of concrete from Bulk diffusion test decrease with the increase of fly ash replacement of Portland cement type I, which is the same trend of chloride diffusion coefficient of 12-year exposure in marine site. In addition, when the W/B ratio of concrete was reduced, the decrease of chloride penetration in normal concrete was higher than that of the fly ash concrete. The results of bulk diffusion test in this study can be used to evaluate the chloride penetration of fly ash concrete under long term exposure in marine environment.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal.
dc.page42-57.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
sci20n1p42-57.pdf690.1 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น