กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2782
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ประทุม ม่วงมี | |
dc.contributor.author | กาหลง เย็นจิตต์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:18:52Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:18:52Z | |
dc.date.issued | 2549 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2782 | |
dc.description.abstract | เพื่อให้เป็นไปตามแผนพัฒนากีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2545-2549) การกีฬาแห่งประเทศไทย ได้มีการจัดตั้งศูนย์กีฬาอำเภอและศูนย์กีฬาตำบลขึ้นทั่วประเทศ จำนวน 876 อำเภอ และ 6,747 ตำบล เพื่อทำหน้าที่ดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมกีฬาในท้องถิ่นตั้งแต่ระดับตำบลและเพื่อทำหน้าที่เป็นองค์กรกีฬาระดับท้องถิ่นในการส่งเสริมการบริหารการกีฬา เนื่องจากการจัดตั้งและการดำเนินการของศูนย์กีฬาดังกล่าวยังค่อนข้างใหม่ เมื่อเทียบกับการดำเนินงานส่วนอื่น ๆ ทางด้านการกีฬาของประเทศทำให้การดำเนินงานยังไม่มีรูปแบบการดำเนินงานที่เหมาะสม ผู้วิจัยจึงเกิดแนวคิดในการทำวิจัยนี้ ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีขึ้นเพื่อพัฒนารุูปแบบการดำเนินงานศูนย์กีฬาตำบลให้มีเอกภาพและประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกีฬาอย่างเป็นระบบ และมีการกระจายอำนาจการกีฬาสู่ระดับท้องถิ่นอย่างทั่วถึงในการพัฒนาการกีฬาตามยุทธศาสตร์กีฬาแห่งชาติ 6 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านการพัฒนาการกีฬาขั้นพื้นฐาน 2. ด้านการพัฒนาการกีฬาเพื่อมวลชน 3. ด้านการพัฒนาการกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ 4. ด้านการพัฒนาการกีฬาเพื่อการอาชีพ 5. ด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการกีฬา 6. ด้านการพัฒนาการบริหารทางการกีฬา โดยการวิจัยครั้งนี้ มีการดำเนินงาน 2 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาปัญหาจากกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่ม จำนวน 1,155 คน เป็นหัวหน้าสำนักงานการกีฬาแห่งประเทศไทย ประจำจังหวัด จำนวน 63 คน เลขานุการศูนย์กีฬาตำบล จำนวน 364 คน ผู้ใช้บริการศูนย์กีฬาตำบบล จำนวน 728 คน โดยใช้แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่าความเชื่อมั่น .96 นำปัญหาที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS แล้วจัดทำรูปแบบเพื่อดำเนินการวิจัยในขั้นตอนที่ 2 โดยให้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 19 คนตรวจสอบและผู้วิจพัฒนารูปแบบการดำเนินงานศูนย์กีฬาตำบล ผลการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยเสนอ รูปแบบการดำเนินงานศูนย์กีฬาตำบล ตามแผนพัฒนากีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 ดังนี้ ด้านการพัฒนากีฬาขั้นพื้นฐานควรจะมีอาสาพัฒนาด้านการกีฬาของตำบล ด้านการพัฒนากีฬาเพื่อมวลชลควรจะมีสนามกีฬาให้มากขึ้น ด้านการพัฒนากีฬาเพ่อความเป็นเลิศ ควรจะจัดการแข่งขันอย่างต่อเนื่องในทุกระดับ ด้านการพัฒนากีฬาเพื่อการอาชีพควรจะทำให้กีฬาในตำบลเป็นอาชีพมากขึ้น ด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการกีฬา ควรจัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาในตำบลเพื่อพัฒนานักกีฬาและผู้ใช้บริการ และทางด้านการบริหารการกีฬา ควรจะมีโครงสร้างศูนย์กีฬาตำบลใหม่ ที่ประกอบด้วยประธานองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นประธาน และมีคณะกรรมการประกอบด้วย ผู้แทนจากหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านมาเป็นกรรมการ ผู้แทนจากการกีฬาแห่งประเทศไทยประจำตำบล ผู้แทนจากกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนจากกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนจากกระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนในตำบลทุกชมรมกีฬา และกรรมการอาจมาจากการแต่งตั้งของประธาน ให้ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นกรรมการและเลขานุการศูนย์กีฬาตำบล และเจ้าหน้าที่ที่ทำหน้าที่ด้านกีฬาของตำบลเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการศูนย์ตำบลกีฬา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การกีฬาแห่งประเทศไทย | th_TH |
dc.subject | กีฬา | th_TH |
dc.subject | ศูนย์กีฬาตำบล | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานศูนย์กีฬาตำบลของการกีฬาแห่งประเทศไทย | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 4 | |
dc.year | 2549 | |
dc.description.abstractalternative | The Sports Authority of Thailand and established 876 District and 6,747 Sub-district Sport Centers under the 3 rd National Sport Development Plan (B.E. 2545-2549). The purpose of the centers were to promote and administer local sport programs. Since the establishment of sport centers was relatively new, there was still a search for a more effective organizational model. The purpose of this research was to develop an organization model of the sport centers with the concept of decentralization under 6 strategic aspects specified under the 3 National Sport Plan, i.e 1) Basic Sport Development, 2) Mass Sport Development, 3) Elite Sport Development, 4) Profession Sports Development, 5) Development of Science and Technology, 6) Improvement of Sport Administration. The research had two phases . In Phase I, attempt was made to study problems involved in sport program of the centers. Participants in this phase (N=1,155), selected randomly, were 63 Office Directors of Provincial branch of Sports Authority of Thailand, 364 Secretaries of Sub-District Sport Centers, and 728 persons using the services at the Sport Centers. A rating- scale type questionnaire, with reliability of 96, was used for data collection. All problems indicated by respondents were analyzed with SPSS program and an organizational model for Sub-District Sport Center was proposed. In Phase ll, the model was sent to 19 experts for comments and suggestions. The researcher used such comments and suggestion to modify the model. In this newly proposed model, the researcher propose the followinhs 1) a need for volunteers to work for Basic Sport Development programs, 2) a need for more facilities for Mass Sport Development Plan, 3) a need for more Professional Sport at Tambon level, 5) a need for Tambom Sport Science Center, and 6) a need for new Organization of Tambon Sport Center that includes the folllowing persons as the administrative committee : President of Tambon Administrative Organization as chair, and member from village representatives, Tambon's SAT representative, representatives from the Ministry of Interior, and Ministry of Public Health, representatives from Tambon's sport clubs, and persons appointed by the chair. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา | |
dc.page | 29-36. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
p29-36.pdf | 640.54 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด | |
p29-36.pdf | 640.54 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น