กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2774
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสมโภชน์ อเนกสุข
dc.contributor.authorสันติพงษ์ ปลั่งสุวรรณ
dc.contributor.authorณรงค์ฤทธิ์ นิ่มมาก
dc.contributor.authorศักดิ์ชาย พิทักษ์วงศ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:51Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:51Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2774
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาระดับขวัญกำลังใจและความท้อถอย เปรียบเทียบปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลกับขวัญกำลังใจและความท้อถอย และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขวัญกำลังใจกับความท้อถอยในการปฏิบัติงานของครูฝึก ประชากรคือ ครูฝึกประจำฟิตเนสเซนเตอร์ 21 แห่ง ในจังหวัดชลบุรี จำนวน 84 คน ประกอบด้วยครูฝึกเพศชาย 57 คน และหญิง 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พิจารณาความแตกต่างได้จากขนาดของผล และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยหาค่าสัมประสิทธิ์ แกมม่า ผลการวิจัยพว่า 1. ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติของงานครูฝึก ประจำฟิตเนสเซนเตอร์ในจังหวัดชลบุรีอยู่ในระดับมาก 2. ความท้อถอยในการปฏิบัติงานของครูฝึก ประจำฟิตเนสเซนเตอร์ในจังหวัดชลบุรีอยู่ในระดับน้อย 3. การเปรียบเทียบปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลกับขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูฝึก พบว่า ด้านเพศ ประสบการณ์ รายได้ และประเภทของฟิสเนสเซนเตอร์ มีขวัญกำลังใจ ไม่แตกต่างกัน 4. การเปรียบเทียบปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลกับความท้อถอยในการปฏิบัติงานของครูฝึก พบว่าด้านเพศ ประสบการณ์ รายได้ และประเภทของฟิตเนสเซนเตอร์ มีความท้อถอย ไม่แตกต่างกัน 5. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างขวัญกำลังใจกับความท้อถอยในการปฏิบัติงานของครูฝึกประจำฟิตเนสเซนเตอร์ในจังหวัดชลบุรี พบวา่ มีความสัมพันธ์กับระดับมากอยู่ในทางปฏิภาคth_TH
dc.language.isoength_TH
dc.subjectกำลังใจth_TH
dc.subjectความเหนื่อยหน่าย (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectผู้ฝึกกีฬา - - จิตวิทยาth_TH
dc.subjectสถานกายบริหารth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleขวัญกำลังใจและความท้อถอยในการปฏิบัติงานของครูฝึกประจำฟิตเนสเซนเตอร์ในจังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeMorale and burnout of instructors in fitness centers in Chonburi provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume8
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to study level of work morale and burnout and their relation with personal factors as well as to study the relation between work morale and burnout of instructors in fitness centers in Chonburi. The population were 84 instructors consisted of 57 male and 27 female working in 21 fitness centers. The tool used in the study was 5 levels rating scale questionnaires and statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, effect size and gamma coefficient. The major findings were as follows: 1. The work morale of the instructors was found to be at high level. 2. The work burnout of the instructors was found to be at low level. 3. Personal factors of the instructors such as gender, experience, income and type of fitness centers were found to have no influence on the work morale. 4. Personal factors of the instructors such as gender, experience, income and type of fitness centers were found to have no influence on the work burnout. 5. The work morale and burnout of the instructors in fitness centers was found to be of high level of reciprocal.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา
dc.page49-60.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
49-60.pdf321.44 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น