กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/276
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กล่าวขวัญ ศรีสุข | th |
dc.contributor.author | เอกรัฐ ศรีสุข | th |
dc.contributor.author | วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:23Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:23Z | |
dc.date.issued | 2552 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/276 | |
dc.description.abstract | ปลากระพงขาว (Lates calcarifer) เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย การแช่แข็งเป็นเทคนิคที่มีประโยชน์ต่อการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาว การแช่แข็งทำให้เกิดความเสียหายต่อเซลล์สเปิร์มเป็นผลให้การเคลื่อนที่ และการปฏิสนธิของสเปิร์มลดลง รวมทั้งเกิดความเสียหายกับเยื่อเซลล์ ความเสียหายต่อเยื่อเซลล์นี้อาจเกิดจาการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของกรดไขมัน สเปิร์มที่ถูกแช่แข็งจะมีความไวต่อ reactive species (RS) และการเกิดลิพิดเปอร์ออกวิเดชันที่เยื่อเซลล์ ซึ่งจะทำให้หน้าที่ของสเปอร์มเสียไปในที่สุด ระบบเอนไซม์ต้านออกซิเดชันในน้ำหล่อเลี้ยงสเปิร์ม และสเปิร์ม ได้แก่ เอนไซม์ superoxide dismutase (SOD), catalase (CAT), และ glutathione peroxidase (GPx) ซึ่งทำให้เกิดการต้านการเกิดลิพิดเปอร์ออกซิเดชัน และช่วยรักษาการมีชีวิตรอดและการเคลื่อนที่ของสเปิร์ม หลังจากน้ำเชื้อปลากะพงขาวถูกเก็บแช่แข็ง เป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบว่ามีการเคลื่อนที่ลดลง ทำการศึกษาเปรียบเทียบองค์ประกอบของกรดไขมันจากสเปิร์มของน้ำเชื้อสด และน้ำเชื้อที่ผ่านการแช่แข็ง โดยการแยกชนิดของลิพิดรวมด้วยเทคนิค silica gel column chromatography และการวิเคราะห์องค์ประกอบของกรดไขมันในส่วนฟอสโฟลิพิดโดยเทคนิค Gas Chromatography พบว่ากรดไขมันอิ่มตัวหลักในสเปิร์มปลากะพง คือ palmitic acid (C16:0) ส่วนกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่พบมากคือ docosahexaenoic acid (DHA; C22:6n3), docosapentaenoic acid (DHA; C22:5n6) และ elaidic acid (C18:1n9t) ลดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ส่งผลให้อัตราส่วนของกรดไขมันไม่อิ่มตัวต่อกรดไขมันอิ่มตัวหลังจากแช่แข็งมีค่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้กิจกรรมของเอนไซม์ SOD ในสเปิร์มของน้ำเชื้อที่ผ่านการแช่แข็งมีค่าสูงขึ้นกว่าสเปิร์มของน้ำเชื้อสด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่กิจกรรมของเอนไซม์ CAT และ GPx ของสเปิร์มจากน้ำเชื้อสดและน้ำเชื้อที่ผ่านการแช่แข็งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าการเพิ่มขึ้นของเอนไซม์ต้านออกซิเดชัน SOD อาจเกิดขึ้นเพื่อป้องกันความเสียหายจากการแช่เย็น | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับเงินอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ 2552 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | น้ำเชื้อแช่เย็น | th_TH |
dc.subject | น้ำเชื้อแช่แข็ง | th_TH |
dc.subject | ปลากะพง - -วิจัย | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางชีวเคมีของน้ำเชื้อปลากะพงขาวที่เก็บแช่เย็น และเก็บแช่แข็ง | th_TH |
dc.title.alternative | Chang in biochemical composition of seabass (Lates calcarifer) milt prepared by chilled storage and cryopreservation technique | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2552 | |
dc.description.abstractalternative | Seabass (Lates calcarifer) is an economically important food fish in Thailand. Cryopreservations are valuable technique that facilitates sea bass hatchery operation. Its can induce cellular injury resulting in the irreversible loss of motility and fertilizations as well as structural damage to the plasma membranes. The damage of membrane may be manifested by the change in its lipid composition. Moreover, cry preserved sperm are highly susceptible to reactive species and particularly to lipid per oxidation in the plasma membrane. These attacks ultimately result in the impairment of sperm function. Enzymatic antioxidant defense mechanisms in seminal plasma and spermatozoa include super oxide dismutase (SOD), catalase (CAT), and glutathione peroxides (GPx) which described as the defense functioning mechanism against the lipid per oxidation maintaining sperm motility and viability. After cryoperservation for 24 h, decrease in the percentage of sperm from milt of seabass exhibiting total motility was observed. The fatty acid composition of sprm from chilled storage milt was compared with sperm from fresh milt. The total lipids were separated by silica column chromatography technique and fatty acid composition of phospholipids was determined by Gas Chromatography (GC). The most abundant of saturated fatty acid was palmitic acid (C16:0). While the most abundant of unsaturated fatty acid was docosahexaenoic acid (DHA; C22:6n3). There was a significant increase (P<0.05) in the palmitic acid (C16:0) proportion in frozen milt compared with that in fresh milt, while the proportion of tricosanoic acid (C23:0) and unsaturated fatty acid, DHA (C22:6n3), docosapentaenoic acid (DHA; C22:5n6), and elaidic acid (C18:1n9t) were decreased significantly after freezing. Consequently, the ratio of unsaturated/ saturated fatty acid was greatly decreased in frozen milt. Moreover, an antioxidant enzyme activity of SOD was significantly increased while CAT and GPx activities showed no difference between fresh and cryopreserved milt. In conclusions, the increase in SOD enzyme activity might protect sperm from cryo-injury | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น