กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2769
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร
dc.contributor.authorขนิษฐา พงษ์ชาติ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาen
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:51Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:51Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2769
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลของการฝึกไอเยนกะโยคะที่มีต่อความวิตกกังวลและสมรรถภาพทางกาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษานี้เป็นนักกีฬาแบดมินตันระดับเยาวชนอายุระหว่าง 9-18 ปี (ค่าเฉลี่ย = 12.5, SD = 2.56 ปี) ของสมาคมแบดมินตัน จังหวัด 2 สมาคม กลุ่มตัวอย่างถูกสุ่มเพื่อแบ่งออกเป้นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยกลุ่มทดลองเป็นกลุ่มที่ได้รับการฝึกไอเยนกะโยคะ โดยฝึก 3 วันต่อสัปดาห์ เป็นเวลาทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมทำการฝึกการเล่นแบดมินตันตามปกติ ผลการวิเคราะห์หลักของข้อมูลความวิตกกังวลที่ได้จากแบบสอบถามความวิตกกังวลของการแข่งขันทางกีฬา (ความวิตกกังวลทางกาย ความวิตกกังวลทางจิต และความเชื่อมั่นในตนเอง) (Pan-U-thai, 2009) และสมรรถภาพทางกาย (ความจุปอด ความอ่อนตัว ความแข็งแรงขา และความแข็งแรงแขนข้างที่ถนัด) ในช่วงก่อนการฝึก ช่วงหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และช่วงหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ด้วยสถิติการทดสอบความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ (Repeated-measures ANOVA) พบว่า นักกีฬาแบดมินตันมีระดับความวิตกกังวลลดลงอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่ความเชื่อมั่นในตนเองเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น การฝึกไอเยนกะโยคะจึงเป็นอีกทางหนึ่งในการช่วยในการเพิ่มศักยภาพทางด้านจิตใจและร่างกายของนักกีฬาแบดมินตันth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectความวิตกกังวลth_TH
dc.subjectสมรรถภาพทางกายth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.subjectโยคะ (กายบริหาร) นักกีฬา - - สุขภาพจิตth_TH
dc.titleผลการฝึกไอเยนกะโยคะที่มีต่อความวิตกกังวลและสมรรถภาพทางกายของนักกีฬาแบดมินตันth_TH
dc.title.alternativeEffects of lyengar yoga on anxiety and physical fitness of badminton playersen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume7
dc.year2553
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to examine the effect of lyengar yoga on mental and physical performance of badminton players. The sample consisted of youth badminton alhletes aged between 9-18 years. (Mean = 12.5, SD = 2.56 year) who play badminton for their province level clubs. Participants were readomly assigned into two group; (1) the raperimental group and (2) the control group. The experimental group practiced lyengar yoga three times a week for 8 week while the control group practiced badminton on regular trining program. The procedure of collection data was divided into three periods; e.g. pre-test period, mid-test period (4 th week) and post-test period (8 th week). Thai version of competitive State Anxiety Inventory-2 revised (CSAI-2R; Pan-U-Thai,2009) which included somatic anxiety, cognitive anxiety and self-confidence sub-disciplines was employed for anxiety level measurement. A physical test for physical related-fitness performance, e.g. lung capacity. Agility, leg strength and dominant arm strength, was also conducted. The statistical methods used for data analysis were a repeated-measures ANOVA: one between- subjects and within subject variables. The statistical analysis revealed that lyengar yoga did not significantly reduce badminton players’ levels of anxiety but their levels of confidence significantly increased. Physical fitness of these yong badminton players was significantly improved during the period of 8 week study. In conclusion. Although lyengar toga did not significantly decrease the level of anxiety in this study. But it did significantly increase self-confidence and phusical fitness.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา
dc.page18-32.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p18-p32.pdf477.15 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น