กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2768
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมโภชน์ อเนกสุข | |
dc.contributor.author | วรวิทย์ มั่นพันธ์พาณิชย์ | |
dc.contributor.author | สันติพงษ์ ปลั่งสุวรรณ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:18:51Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:18:51Z | |
dc.date.issued | 2553 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2768 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การบริหารจัดการเตรียมทีมฟุตบอลอาชีพ ตามโครงสรา้งหน้าที่ของการบริหาร 4 ด้าน คือ การวางแผน การจัดองค์กร การนำองค์กร และการควบคุม และเปรียบเทียบสภาพการบริหารจัดการเตรียมทีมฟุตบอลอาชีพ ที่เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลไทยแลนด์ พรีเมียลีก 2008 จากกลุ่มทีมที่มีคะแนนสะสมรวมมากที่สุด และกลุ่มที่มีคะแนนสะสมรวมน้อยที่สุด กลุ่มละ 3 ทีม จากผลการเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลไทยแลด์ พรีเมียลีก กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 190 คน ประกอบด้วย ผู้จัดกรทีม 14 คน ผู้ฝึกสอน 14 คน และนักกีฬา 162 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารจัดการเตรียมทีมฟุตบอลอาชีพ ที่เข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลไทยแลนด์พรีเมียลีก 2008 โดยรวมทุกด้านมีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาแยกย่อยเป็นรายด้าน พบว่า มีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านการวางแผน ด้านการจัดองค์กร ด้านการนำองค์กร และด้านการควบคุม 2. ผลการเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยการบริหารจัดการเตรียมทีมฟุตบอลอาชีพ จากกลุ่มที่มีคะแนนสะสมรวมมากที่สุด 3 อันดับแรก กับกลุ่มที่มีคะแนนสะสมรวมน้อยที่สุด 3 อันดับสุดท้าย จากผลการเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลไทยแลนด์ พรีเมียลีก โดยรวมทุกด้าน พบว่า มีความแตกต่างกันทั้ง 4 ด้าน ซึ่งกลุ่มที่มีคะแนนรวมมากที่สุด 3 อันดับแรกมีการดำนเนินงานที่มากกว่าทั้ง 4 ด้าน คือ 1. ด้านการวางแผนข้อมที่แตกต่างกันมากที่สุดคือ คือ ด้านการดำเนินงานในด้านงบประมาณของสโมสร 2. ด้านการจัดองค์กรข้อที่แตกต่างกันมากที่สุดคือ ด้านการศึกษาจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของสโมสร 3. ด้านการนำองค์กรข้อที่แตกต่างกันมากที่สุด คือด้านนักกีฬา และบุคลากรในทีมได้รับการพักผ่อนหย่อยใจจากกิจกรรมนันทนาการที่ทางสโมสรจัดให้ และ 4. ด้านการจัดควบคุมข้อที่แตกต่างกันมากที่สุด คือ ด้านการพัฒนากระบวนการและการประเมินผลการบริหารจัดการเตรียมทีมอย่างต่อเนื่อง เพื่อความเป็นมาตรฐาน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ทีมฟุตบอล | th_TH |
dc.subject | ฟุตบอล - - การจัดการ | th_TH |
dc.subject | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การบริหารจัดการเตรียมทีมฟุตบอลอาชีพที่เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 7 | |
dc.year | 2553 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of the study were investigated the professional football team management in Thailand premier league according to the organizational management structure including planning, organizing, leading, and controlling and to compare the management condition of professional football team entering Thailand premier league 2008. The comparisons were between the group with the highest points and the group with the lowest points from Thailand premier league 2008 toumament. Each group contained 3 teams. The 190 samples of the study consisted of 14 team managers, 14 coaches and 162 players. The instrument applied in the study was a questionnaire constructed by the researcher. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation and t-test. The findings revealed as followed: 1. The management for preparing the professional football team entering Thailand permier league in the over all part was at high level. The overall part of the management included planning. organizing. leading. and controlling was at the high level. 2. The results of comparing the mean of the management between the three teams of the group with the highest scores and the three teams of the group with the lowest scores in Thailand premier league tournament revealed sigificant differences. The groups with higher score had higher score in four organizational management operations: 1. In planning the 2 groups were different the most in the budget plan of the football clubs: 2. In organizing, the two groups were different the most in organizational analysis of weakness, strength. opportunities, and threats: 3. In leading, the two groups were different the most in players and staff having relaxation from the recreation at activities provided by their own clubs; 4. In controlling the two groups were different the most in continual development and assessment processes in team management for standardization. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา | |
dc.page | 1-17. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p1-p17.pdf | 233.12 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น