กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2764
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กฤษณา โพธิสารัตนะ | |
dc.contributor.author | สุพิชฌาย์ แสงทอง | |
dc.contributor.author | จีระศักดิ์ รัตนวงษ์ | |
dc.contributor.author | ธีรัตม์ พิริยะพลิน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:18:50Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:18:50Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2764 | |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์กรของบริษัทข้ามชาติญี่ปุ่น และอเมริกันที่มีความพันธ์ต่อประสิทธิผลการทำงานของพนักงาน 2) เพื่อเปรียบเทียบวัฒนธรรมองค์กรของบริษัทข้ามชาติญี่ปุ่นและบริษัทข้ามชาติอเมริกันที่มีความแตกต่างกัน 3) เพื่อเปรียบเทียบระดับประสิทธิผลการทำงานของพนักงานบริษัทข้ามชาติญี่ปุ่นและอเมริกันที่มีความแตกต่างกัน ผู้วิจัยได้กำหนดให้ทฤษฏีวัฒนธรรมองค์กรการบริหารงานเป็นตัวแปรต้น ส่วนประสิทธิผลการทำงานเป็นตัวแปรตาม ประกอบด้วย ด้านลักษณะการปฏิบัติงาน ด้านความพึงพอใจในงานด้านขวัญและกำลังใจ และด้านความสามัคคีในการปฏิบัติงาน ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานบริษัทสัญชาติญี่ปุ่นและอเมริกันในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครจังหวัดชลบุรี ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมองค์กรการบริหารงานของบริษัทสัญชาติญี่ปุ่นและอเมริกันมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการทำงานของพนักงานในองค์กร วัฒนธรรมองค์กรเป็นผลลัพธ์ของปฏิสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่ทางการบริหารและคุณลักษณะขององค์กรสะท้อนให้เห็นถึงอดีต และปัจจุบันของกิจกรรมการวางแผน การจัดองค์กร การกระทำและการควบคุม ซึ่งนำไปสู่การมีอิทธิพลต่อบรรยากาศขององค์กร หรือค่านิยม ความคาดหวัง และวิธีปฏิบัติขององค์กร การทำให้เกิดสภาพแวดล้อมเฉพาะที่มีอิทธิพลต่อบุคคล และกลุ่ม และต่อผลสำเร็จขององค์กร และยังพบอีกว่าวัฒนธรรมองค์ของบริษัทสัญชาติญี่ปุ่นและอเมริกันมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน ดังนั้นการรู้ว่าอะไรคือจุดที่เหมือนและแตกต่างกัน จะช่วยให้เข้าใจฝ่ายตรงข้ามมากขึ้นและสามารถหาแนวทางในการรับมือ หรือนำมาปรับปรุงให้ดีขึ้น และเกิดประสิทธิภาพต่อองค์กรได้ ส่วนผลการศึกษาในระดับประสิทธิผลการทำงานของพนักงานบริษัทญี่ปุ่นและอเมริกันพบว่าส่วนใหญ่แล้วไม่มีความแตกต่างกัน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การบริหารงาน | th_TH |
dc.subject | ประสิทธิผลการทำงาน | th_TH |
dc.subject | พนักงาน | th_TH |
dc.subject | วัฒนธรรมองค์กร | th_TH |
dc.subject | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | องค์การญี่ปุ่น | th_TH |
dc.subject | องค์การอเมริกัน | th_TH |
dc.title | การเปรียบเทียบวัฒนธรรมองค์กรบริษัทสัญชาติญี่ปุ่นและอเมริกันที่มีความ สัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการทำงานของพนักงานในนิคมอุตสาหกรรม อมตะนคร จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | The comparison of organization culture in Japanese and American companies related to work effectiveness of employee in Amata Nakorn Industrial estate, Chonburi province | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 8 | |
dc.year | 2556 | |
dc.description.abstractalternative | The objectives are as follows: 1) to study organization culture of Japanese and American multinational companies related to work effectiveness of workers, 2) to compare the organization culture of Japanese companies and American companies that were different, 3) to compare the level of work effectiveness of employees in Japanese companies and American companies that were different. In this study, the researcher used organization culture in administration to be independent variable, dependent variables included work characteristics, work satisfactory, morale and harmony. The data were collected using questionnaires. The subjects were employees in Japanese companies and American companies in Amata Nakorn Industrial Estate, Chonburi Province. The findings indicated that the organization culture of Japanese companies and American companies related to work effectiveness of employees in organization. Organization culture was the result of interaction of responsibility in administration, characteristic of organization reflected to the past and the future of activities in planning, organization managing, acting and controlling which were lead to influence to organization atmosphere or value, expectation and instruction to treat in organization. This made environment influenced on individual, group and organization achievement. Moreover, it was shown that the organization culture of Japanese companies was clearly different from the organization culture of American companies. Hence, the more we learn the similarity and difference of the others, the more we understand them and learn how to take care of, improve and make organization effectiveness. The last finding was there was no different in the work effectiveness of employees in Japanese companies and American companies. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review | |
dc.page | 68-85. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
mba8n2p67-85.pdf | 2.11 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น