กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2754
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์ | |
dc.contributor.author | บรรพต วิรุณราช | |
dc.contributor.author | โศรยา ตินตะบุระ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:18:50Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:18:50Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2754 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความต้องการการจัดสวัสดิการ ของพนักงานในฝ่ายผลิต วิศวกร ทั้งระดับปฏิบัติการและผู้บริหารระดับต้นในเขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี 2) เพื่อศึกษาความต้องการการจัด สวัสดิการของพนักงานในฝ่ายผลิต วิศวกร ทั้งระดับปฏิบัติการและผู้บริหารระดับต้นในเขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล จำแนกตามปัจจัยองค์การ 3) ความคิดเห็นต่อการจัดสวัสดิการรูปแบบใหม่ของ ผู้จัดการฝ่ายบุคคลในเขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรีโดยใช้วิธีการรวบรวมข้อมูล ดังนี้ 1) การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานในฝ่ายผลิต วิศวกร ทั้งระดับปฏิบัติการและผู้บริหารระดับต้น ที่ปฏิบัติงานในเขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรีการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ปัจจัยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการวิเคราะห์การถดถอยแบบเส้นตรงพหุคูณ 2) การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้จัดการฝ่ายบุคคลซึ่งมีความสำคัญและมีความ เกี่ยวข้องกับสิทธิประโยชน์ของแรงงานโดยใช้วิธีกรเลือกกลุ่มอย่างเจาะจงการวิเคราะห์บรรยายเชิงพรรณนาความ ผลการวิจัย พบว่าความต้องการการจัดสวัสดิการของพนักงานในฝ่ายผลิต วิศวกร ทั้งระดับปฏิบัติการและผู้บริหาร ระดับต้น ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านความปลอดภัย และสุขภาพอนามัย (X = 4.79) พนักงานฝ่ายปฏิบัติการ มีความต้องการมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านโบนัสและสวัสดิการ (X = 4.75) ด้านสังคมและนันทนาการ (X = 4.59) ด้านการศึกษา (X = 4.55) และด้านเศรษฐกิจ (X = 4.34) ตามลำดับ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การจัดสวัสดิการรูปแบบใหม่ | th_TH |
dc.subject | สวัสดิการ | th_TH |
dc.subject | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การจัดสวัสดิการรูปแบบใหม่ของพนักงานในฝ่ายผลิต วิศวกร ทั้งระดับปฏิบัติการ และผู้บริหารระดับต้น ในเขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | New welfare management of production employees and engineers in operation level and young executive level in Leam Chabung industrial estate, Chon Buri province | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 9 | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | This mixed-method-design study attempted 1) to study the requirements in welfare management of production employees and engineers in operation level and young executive level in Leam Chabung Industrial Estate, Chon Buri Province; 2) to study the requirement of welfare management of production employees and engineers in operation level and young executive level in Leam Chabung Industrial Estate, Chon Buri Province classifying by organization factors and; 3) to study opinions toward new welfare management of human resource managers in in Leam Chabung Industrial Estate, Chon Buri Province. The data were collected as follows: 1) Quantitative data from the questionnaires: The subjects were production employees and engineers in operation level and young executive level in Leam Chabung Industrial Estate, Chon Buri Province. The data were analyzed to find frequency, percentage, mean, standard deviation, One-Way ANOVA and Multiple Regression Analysis and, 2) Qualitative data from in-depth interviews: The subjects were human resource manager who were important and related to labor right. The subjects were selected with purposive sampling technique and the data then were analyzed with descriptive analysis. The findings revealed that the requirements in welfare management of production employees and engineers in operation level and young executive level comprised of five aspects, that is; Safety and Occupational Health (X= 4.79), bonus and welfare (X = 4.75), society and recreation (X = 4.59), education (X = 4.55) and economy (X = 4.34), respectively. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ =Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review | |
dc.page | 127-142. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
mba9n2p127-142.pdf | 885.5 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น