กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2734
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวันวิสาข์ ศรีวิไล
dc.contributor.authorสพลณภัทร ศรีแสนยงค์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:48Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:48Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2734
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเบื้องต้นมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและตรวจสอบคุณภาพชุดกิจกรรมการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องพืช สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบผสมผสานระหว่างวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) กับการเรียนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนด้วยด้วยชุดกิจกรรม 3) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนด้วยชุดกิจกรรม 4) เปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมกับเกณฑ์ดี (ระดับ 4) กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านบึง ตำบลห้วยใหญ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 18 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ชุดกิจกรรมการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องพืช สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบผสมผสานระหว่างวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) กับการเรียนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ที่ประกอบไปด้วย แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน และแบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ขนาดของผล (Effect size) ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. ชุดกิจกรรมการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ 82.06/ 84.11 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ โดยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละชุดมีประสิทธิภาพเรียงตามลำดับ ดังนี้ 81.91, 82.96, 82.44, 82.83, และ 80.15 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมแตกต่างจากก่อนเรียนโดยมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียน 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมแตกต่างจากก่อนเรียนโดยมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียน 4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนมีค่าเฉลี่ย 3.38 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ ระดับดี (ระดับ 4)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการเรียนรู้ร่วมกันth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ - - กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการสร้างชุดกิจกรรมการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องพืช สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบผสมผสานระหว่างวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) กับการเรียบแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STADth_TH
dc.title.alternativeA construction of learning activities packages in plant of science based on subjects inquiry cycle (5E) learning method and STAD for grade 4 studentsen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume9
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThis research was the primary one. It aimed at 1) building and examining for the quality of the learning activities packages on plant in science for four-grade students by using combined teaching methods between the subjects inquiry cycle (5E) and the participative learning using STAD technique, to be of efficiency under criteria of 80/80; 2) comparing the learning achievement of students before and after learning by using the learning activities packages on plant in science for four-grade students by using combined teaching methods between the subjects inquiry cycle (5E) and the participative learning using STAD technique; 3) comparing the skill in basic scientific procedure of students before and after learning by using the learning activities packages on plant in science for four-grade students by using combined teaching methods between the subjects inquiry cycle (5E) and the participative learning using STAD technique; 4) comparing the attitudes on science of students before and after learning by using the learning activities packages on plant in science for four-grade students by using combined teaching methods between the subjects inquiry cycle (5E) and the participative learning using STAD technique with good criteria (Level 4). Population used in this research was 18 fourth-grade students of Ban Bueng School, Huay Yai Sub-district, Bang Lamoong District, Chonburi Province, under the Chonburi Primary Education Service Area Office 3, Second Semester of Academic Year of 2012, obtained from purposive sampling. Tool used in the research was the learning activities packages on plant in science for four-grade students by using combined teaching methods between the subjects inquiry cycle (5E) and the participative learning using STAD technique consisting of learning achievement test, basic scientific procedure, and scientific attitude test. Data were analyzed by using statistics to analyze effect size. It was found from the research that: 1. The learning activities packages constructed by the researcher was efficient at 82.06/84.11 level under the criteria of 80/80 specified; each learning activities package is efficient in order as follows: 81.91, 82.96, 82.44, 82.83, and 80.15. 2. The learning achievement of students after learning by using activities package was different than that before learning with higher means than that before learning. 3. The primary scientific procedure skill of students after learning by using activities package was different than that before learning with higher means than that before learning. 4. The means of scientific attitude score after learning of students had the means of 3.38 which was higher than the specified criteria that was good level (Level 4).en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page116-126.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusoc9n2p116-126.pdf612.2 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น