กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2728
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสมุทร ชำนาญ
dc.contributor.authorศรีประภา เหมนาค
dc.contributor.authorชัยพจน์ รักงาม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:48Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:48Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2728
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 และเพื่อสร้างสมการพยากรณ์ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอน ของสถานศึกษารัฐ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 ปีการศึกษา 2555 กำหนดขนาดโรงเรียนเป็นชั้นในกลุ่ม ได้กลุ่มตัวอย่าง 74 โรงเรียน ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นครูผู้สอน 276 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับตอนที่ 1 และแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 3 ระดับตอนที่ 2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ แบบหลายขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า 1. ระดับพฤติกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 2. ระดับผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 โดยรวมและรายมาตรฐานทุกมาตรฐานอยู่ในระดับดีมาก 3. พฤติกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 โดยรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. จากสมการพยากรณ์ที่ดีที่สุด พบว่า ตัวแปรพยากรณ์ของพฤติกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (x8) และด้านการวัดผล ประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน (x3) สามารถพยากรณ์ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 โดยรวม (Y) ได้ร้อยละ 35.10 และสามารถพยากรณ์ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้สมการถดถอยในรูปคะแนนดิบ ดังนี้ Y = 1.348 + .238 (X8) + .194 (X3)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาth_TH
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา - - การบริหารth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleพฤติกรรมการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeAcademic behavior of schools administrators affecting external assessment in schools under Prachinburi Primary Educational Area Office 2en
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume9
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThe research aims to study the relation between the academic behaviors of school administrators affecting external assessment results in school under Prachinburi Primary Education Area office 2, and building the prediction equation of external assessment results of schools. The sampling group was teachers of public schools under Prachinburi Primary Education Area Office 2, academic year 2012 whereas the sample size of schools as 74 was determined by random sampling and the questionnaire respondents were 276 teachers. The data collection tool was 4-rating scale of section I and 3-rating scale of section II while the statistics of data analysis were means, standard deviation, Pearson co-efficient, and multi-step regression analysis. It was found that 1. Scale of academic behavior of school administrators under Prachinburi Primary Education Area office 2 overall was all highly rated. 2. Scale of external assessment results of school under Prachinburi Primary Education Area Office 2 overall was very good. 3. Academic behaviors of school administrators under Prachinburi Primary Education Area Office 2 overall and each aspect were positively and significantly related at 0.05. 4. Based on the ultimate prediction equation, it was shown that prediction variable of academic behavior of school administrators in terms of internal assurance system development of school (x8) and assessment (X3) were able to predict the external assessment result of schools under Prachinburi Primary Education Area Office 2 overall (Y) 35.10 percent and to achieve the external assessment results of schools Education under Prachinburi Primary Education Area Office 2 significantly at 0.05 based on raw scores of regression equation as follow: Y = 1.348 + .238 (X8) + .194 (X3)en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page162-173.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusoc9n2p162-173.pdf661.97 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น