กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2725
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อนงค์ วิเศษสุวรรณ์ | |
dc.contributor.author | สุรินทร์ สุทธิธาทิพย์ | |
dc.contributor.author | สุดใจ ส่งสกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:18:48Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:18:48Z | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2725 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลการให้คำปรึกษาแนวอัตถิภาวะนิยมต่อความท้อแท้ของพนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้กลุ่มตัวอย่างและกลุ่มควบคุม โดยใช้แบบวัดความท้อแท้ที่ผู้วิจัยดัดแปลงมาจาก แบบวัดความท้อแท้โคเป็นเฮเกน (Copenhagen Burnout Inventory) คัดเลือกผู้ที่ได้ค่าคะแนนความท้อแท้สูงเกินเกณฑ์และสมัครใจเข้าร่วมการวิจัยได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 14 คน นำมาสุ่มอย่างง่ายเข้ากลุ่ม 2 กลุ่ม คือกลุ่มควบคุมกับกลุ่มทดลองกลุ่มละ 7 คน กลุ่มทดลองได้รับการให้คำปรึกษารายบุคคลตามแนวอัตถิภาวะนิยม วัดผลการดำเนินการในระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล นำข้อมูลมาวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำประเภทหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม และทดสอบความแตกต่างระหว่างคู่โดยวิธีการแบบนิวแมน-คูลส์ ผลการวิจัยพบว่า พนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้กลุ่มที่ได้รับการให้คำปรึกษาแนวอัตถิภาวะนิยมมีระดับความท้อแท้ในระยะหลังการทดลองต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่มีระดับความท้อแท้ในระยะติดตามผลต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษา | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษาแบบรายบุคคล | th_TH |
dc.subject | ความท้อแท้ | th_TH |
dc.subject | ผู้ช่วยเหลือคนไข้ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | ผลการให้คำปรึกษาแนวอัตถิภาวะนิยมต่อความท้อแท้ของพนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้ | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 9 | |
dc.year | 2557 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the existential individual counseling on burnout of Patient Assistants. The sample consisted of fourteen Patient Assistants in hospital at Health Science Center of Burapha University Chonburi, who had the high scores exceed standard value of Copenhagen Burnout Inventory test. The samples were divided into-two groups by simple random sampling and then were assigned into the burn out group and the control group with seven members in each group. The experimental group was received Existential Individual Counseling Program. The data collection procedure was divided into three phases: the pre-test, the post test and the follow-up. The data were analyzed by repeat-measure analysis of variance: one between-subjects and one within subjects. The results revealed that the Patient Assistants in experimental group has burnout score in posttest lower than the control group significantly at .05 levels. No significant difference was found on burn out score among the Patient Assistants in the experiment group and the control group during follow up | en |
dc.journal | วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development | |
dc.page | 83-92. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
edusoc9n2p83-92.pdf | 655.42 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น