กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2724
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.authorพัชรินทร์ ศรีพล
dc.contributor.authorนพมณี เชื้อวัชรินทร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:48Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:48Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2724
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีและเจตคติต่อวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนชลกันยานุกูลแสนสุข ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย 1 ห้องเรียน จำนวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาเคมีโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง พอลิเมอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาเคมีและแบบวัดเจตคติต่อวิชาเคมี ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนวัดสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีและเจตคติต่อวิชาเคมีก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การทดสอบค่าที (t-test) แบบ Dependent Sample และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีและเจตคติต่อวิชาเคมีกับเกณฑ์ที่กำหนด โดยใช้การทดสอบค่าที (t-test) แบบ One Sample ผลการวิจัย พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบ วัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 70 และเจตคติต่อวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ ระดับมา (ระดับ 4)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการเรียนรู้ร่วมกันth_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมth_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.subjectทัศนคติเชิงวิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.subjectเคมี - - การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STADth_TH
dc.title.alternativeThe study of learning achievement and scienctific attitude in chemistry for grade 10 students using the inquiry cycle (5E) learning method together with the cooperative learning method STAD techniqueen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume9
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThe purposed of this research were to study science learning achievement and scienctific attitude in chemistry of grade ten students using the inquiry cycle (5E) learning method together with the cooperative learning method STAD technique. The samples for this research consisted of 45 grade ten students from Chonkanyanukoon saensuk school, Chonburi province. The simple random sampling method was used in selecting an experiment group. The research instruments were the lesson plans in the topic of polymer, science achievement test and scienctific attitude in chemistry test. The data were analyzed by comparing the difference of an achievement scores and scienctific attitude in chemistry pretest and posttest using dependent sample t-test and comparing the difference of an achievement and scienctific attitude in chemistry with the criterion using one sample t-test. The research findings were showed that the posttest science learning achievement of grade ten students after using the inquiry cycle (5E) learning method together with the cooperative learning method STAD technique was significantly higher than pretest and a defined criteria was 70 percent at .05 level. The posttest scientific attitude in chemistry of the students after they were taught by the inquiry cycle (5E) learning method together with the cooperative learning method STAD technique was higher than the pretest and a defined criteria was level 4 at .05 level.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page71-82.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusoc9n2p71-82.pdf654.15 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น