กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2702
ชื่อเรื่อง: | ปรากฏการณ์การเกิดฟ้าผ่าและการป้องกัน |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ปราณี วงศ์จันทร์ต๊ะ มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
คำสำคัญ: | การป้องกันฟ้าผ่า. ฟ้าผ่า สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ |
วันที่เผยแพร่: | 2556 |
บทคัดย่อ: | ฟ้าผ่าเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งมนุษย์ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ แต่สามารถป้องกันอันตรายที่เกิดจากฟ้าผ่าได้ บทความนี้จึงขอนำเสนอความรู้และวิธีการป้องกันเกี่ยวกับฟ้าผ่า ปรากฏการณ์ฟ้าผ่าคือการคายประจุไฟฟ้าในขณะที่มีฝนฟ้าคะนอง กลไกการเกิดฟ้าผ่าเริ่มจากมีประจุลบเกิดขึ้นที่ด้านล่างของก้อนเมฆและเหนี่ยวนำให้เกิดประจุบวกที่พื้นดิน เมื่อเกรเดียนต์แรงดันที่ก้อนเมฆมีค่าสูงสุดทำให้อากาศบริเวณดังกล่าวเกิดเสียสภาพฉับพลันจนเกิดการแตกตัว ทำให้ประจุลบจากก้อนเมฆเคลื่อนตัวลงมารวมกับประจุบวกที่พื้นดิน เรียกว่า ฟ้าผ่า การป้องกันอันตรายอันเกิดจากฟ้าผ่าแบ่งเป็น 2 ส่วน โดยที่ส่วนแรกเป็นการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าสำหรับอาคารและสิ่งปลูกสร้างแบบฟาราเดย์ ส่วนที่สองเป็นคำเตือนและข้อควรระวังจากฟ้าผ่า พร้อมทั้งรวบรวมข้อมูลทางสถิติเกี่ยวกับฟ้าผ่าของประเทศไทย จำนวน 5 ปีที่ผ่านมาสรุปได้ว่า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีผู้เสียชีวิตสูงสุดเฉลี่ยร้อยละ 58.8 |
URI: | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2702 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
edusoc9n1_1.pdf | 581.62 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น