กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2686
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | บรรพต วิรุณราช | |
dc.contributor.author | สาธิต ปิติวรา | |
dc.contributor.other | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:18:45Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:18:45Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2686 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ของการจัดตั้งศูนย์รับน้ำนมดิบกับหลักการจัดการสมัยใหม่ด้านรัฐประศาสนศาสตร์ 2) ศึกษาข้อมูลเชิงพื้นที่ในการกำหนดขอบเขตการเลี้ยงโคนมในจังหวัดสระแก้วที่ส่งผลต่อการจัดตั้งศูนย์รับน้ำนมดิบโดยการประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและการจัดการสมัยใหม่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตน้ำนมดิบ กรณีศึกษาสหกรณ์โคนมวังน้ำเย็นจำกัด จังหวัดสระแก้ว ขอบเขตการวิจัยด้านพื้นที่ที่ทำการวิจัยคือ พื้นที่ จำนวน 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอวังสมบูรณ์ อำเภอวังน้ำเย็น อำเภอเขาฉกรรจ์ และอำเภอวัฒนานคร ขอบเขตการวิจัยด้านประชากร ได้แก่ สมาชิกสหกรณ์โคนมวังน้ำเย็นน จำกัด จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของสหกรณ์ฯ แบบวัดทัศนคติกับการบริหารศูนย์รับน้ำนมดิบ และแบบวัดทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการศูนย์รับน้ำนมดิบ ตามหลักการจัดการสมัยใหม่ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรม SPSS for Window ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน และการใช้โปรแกรมสหสัมพันธ์แบบเพียรสัน (Pearson’s Product Moment Correlation) ระดับ 0.01 ในการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า ศูนย์รับน้ำนมดิบในปัจจุบันของสหกรณ์ฯ มีความสัมพันธ์กับหลักการจัดการสมัยใหม่ด้านรัฐประศาสนศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับมาก ทั้ง 5 ด้านโดยด้านการจัดการสหกรณ์ภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียง มีค่าเฉลี่ย 3.80 รองลงมาด้านธรรมาภิบาล ค่าเฉลี่ย 3.76 ด้านการจัดการสหกรณ์ภายใต้หลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ค่าเฉลี่ย 3.74 ด้านการจัดการสหกรณ์ภายใต้หลักนโยบายสาธารณะ ค่าเฉลี่ย 3.72 และอันดับสุดท้าย ด้านการจัดการสหกรณ์ ภายใต้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน ค่าเฉลี่ย 3.59 ตามลำดับ ผลการศึกษาข้อมูลเชิงพื้นที่ในการกำหนดขอบเขตการเลี้ยงโคนมในจังหวัดสระแก้วที่ส่งผลต่อการจัดตั้งศูนย์รับน้ำนมดิบ โดยการประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและการจัดการสมัยใหม่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมดิบ กรณีศึกษาสหกรณ์โคนมวังน้ำเย็น จำกัด จังหวัดสระแก้ว พบว่าตำแหน่งพื้นที่ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการจัดตั้งศูนย์รวบรวมรับนมดิบแห่งใหม่ มีจำนวน 5 แห่ง คือ 1) ตำบลโคกปี่ฆ้อง อำเภอเมืองสระแก้ว 2) ตำบลโนนหมากเค็ง อำเภอวัฒนานคร 3) ตำบลโคคลาน อำเภอตาพระยา 4) ตำบลทับจันทร์ อำเภออรัญประเทศ และ 5) ตำบลคลองหาด อำเภอคลองหาด | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การจัดการ | th_TH |
dc.subject | ธรรมรัฐ | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | สหกรณ์โคนมวังน้ำเย็น - - การบริหาร | th_TH |
dc.subject | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและการจัดการสมัยใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมดิบ: กรณีศึกษาสหกรณ์โคนมวังน้ำเย็น จำกัด จังหวัดสระแก้ว | th_TH |
dc.title.alternative | Application of geo-information technology and modern management to increase raw milk production efficiency: A case study of Wangnamyen Co-operative Ltd. Sakaeo | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 8 | |
dc.year | 2555 | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are to 1) Study the relationship between the establishment of raw Milk depots and principles of public administration and modern management, and ; 2) examine area studies data in determining the boundaries of dairy cattle farming in Sa Kaew province affecting the establishment of raw milk depots. The study applies geographic information technology and modern management principles in order to increase the efficiency of raw milk production of Wang Nam Yen Co-operative Ltd. The area studied is limited to four districts; Wang Somboon, Wang Nam Yen, Khao Chakan and Watthana Nakhon. The population studied is limited to 300 members of Wang Nam Yen Co-operative Ltd. Data collection consisted of a general questionnaire administered to members of the co-operative, a questionnaire measuring attitudes toward raw milk depots’ service, and a questionnaire measuring attitudes towards management of raw milk depots according to principles of modern management. Data were analyzed using SPSS of modern management. Data were analyzed using SPSS for Window for basic statistics and Pearson’s Product Moment Correlation at a level of 0.01 for the correlation coefficient Coefficient. It was found tat the co-operative’s current raw milk depots have a statistically significant relationship with modern public administration principles of management at a high level for all five factors studied, with self sufficiency economy management principles at a score of 3.80, followed by principles of good governance with a score of 3.76, co-operative management resources at a score of 3.72, and public participation in management of the co-operative at score of 3.59. The results of area studies data analysis in determining the boundaries of dairy cattle farming in Sa Kaew province affecting the establishment of milk depots with the application of geographic information systems technology and modern management principles in order to increase the efficiency of raw milk production of Wang Nam Yen Co-operative Ltd. Revealed five locations suitable for the establishment of an efficient, new raw milk depot, namely; 1) Khok Pi Khong Municipality, Muang Sa Kaew; 2) Non Mak Kheng Municipality, Watthana Nakhon District; 3) Khok Lan Municipality, Ta Phraya District; 4) The Chan Municipality, Aranyaprathet District, and 5) Khlong Had Municipality, Khlong Had District. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review | |
dc.page | 13-25. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
mba7n2p13-25.pdf | 1.38 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น