กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2681
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์ | |
dc.contributor.author | ธีรารัตน์ วงศ์ธนะเอนก | |
dc.contributor.author | ศิริญญา วิรุณราช | |
dc.contributor.author | ดนัย คริสธานินทร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:18:45Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:18:45Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2681 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริโภคสินค้าที่ผลิตในไทยของผู้บริโภคในนครหลวงเวียงจันทร์ โดยศึกษาปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ ปัจจัยด้านการรับชมช่องโทรทัศน์ของไทย ปัจจัยด้านช่วงเวลาการออกอากาศ ปัจจัยด้านพฤติกรรมผู้บริโภคในนครหลวงเวียงจันทร์ กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้บริโภคชาวลาวในนครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่ได้รับชมรายการของโทรทัศน์เสรีจากประเทศไทยและเคยซื้อผลิตภัณฑ์จากประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามภาษาลาว ผลการวิจัยปรากฎว่า กลุ่มตัวอย่างที่บริโภคสินค้าไทยและรับชมสื่อโทรทัศน์ของไทยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ในช่วงอายุ 20 ปี ถึง 30 ปี ประกอบอาชีพนักเรียน นักศึกษา มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนในช่วง 1,000,000-1,500,000 กีบหรือประมาณ 4,000 บาม ถึง 6,000 บาทต่อเดือน ระดับการศึกษาอยู่ที่ระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่มีสถานภาพโสด และชอบรับชมรายการโทรทัศน์จากสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 ช่วงเวลาหลักที่รับชมมากที่สุด คือช่วงเวลา 18.00-24.00 น. โดยช่วงเวลาย่อยที่ชอบรับชมคือ ช่วงไพรไทม์ 19.00-22.00 น. รายการโทรทัศน์ทุกประเภทมีอิทธิพลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สะดวกซื้อ ประกอบด้วย รายการประเภทที่เป็นเรื่องจริงและมีเนื้อหาสาระ รายการประเภทที่เป็นเรื่องแต่งขึ้น และรายการประเภทให้ความบันเทิง ยกเว้นรายการประเภทเรื่องแต่งขึ้นนั้น ไม่มีอิทธิพลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เลือกซื้อ เจาะจงซื้อ และไม่แสวงซื้อนั้นเป็นรายการจำพวกนี้เมื่อมีการโฆษณาผู้ชมก็จะเปลี่ยนสถานีโทรทัศน์เพื่อที่จะชมสถานีอื่นเพราะส่วนใหญ่จะออกอากาศในช่วงเวลาไพรไทม์นั้นเอง | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค - - ลาว | th_TH |
dc.subject | รายการโทรทัศน์ - - ไทย | th_TH |
dc.subject | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | สินค้าไทย | th_TH |
dc.subject | โทรทัศน์ - - ไทย | th_TH |
dc.title | อิทธิพลของสื่อโทรทัศน์ของไทยต่อการบริโภคสินค้าของผู้บริโภคใน สปป.ลาว กรณีศึกษา นครหลวงเวียงจันทน์ | th_TH |
dc.title.alternative | The influence of Thai television media on Lao people's consumption of Thai products: A case study in Vientiane | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 8 | |
dc.year | 2556 | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of the research were to study the consumption of Thai products of Lao people with different demographic factors including factors of watching Thai TV programs, the time of broadcasting, consumers’ behavior and to study the influence of type of programs influencing Lao people’s consumption of Thai products in Vientiane. The study was based on Philip Kotler’s Marketing Management (Kotler, 2003) and other relevant studies. The sample group consisted of 400 Lao consumers having watched Thai TV programs and bought Thai products in Vientiane, Lao People’s Democratic Republic. The instrument was questionnaire translated into Lao by an expert. The findings revealed that most of the respondents consuming Thai products and watching Thai TV programs were female consumers whose age ranged from 20 to 30 years. They were school students and university students whose monthly income was 1,000,000-15,000,000 Kip or 4,000-6000 baht. Most of the respondents were single and had bachelor’s degree. Their favorite program were on Royal Thai Army Radio and Television channel 7. The major time most respondents watched was 18.00-24.00. The minor time that the respondents watched TV was primetime which was from 19.00 to 22.00. Every type of TV programs influence Lao people’s consumption of Thai consumer products. TV programs consisted of informative reality programs, programs from Wittten stories, and entertaining programs. Only program from written stories didn’t influence consumption of shopping products, specialty products, and unsought products. The was because when this kind of program had commercials, the audience would change to watch another program which was on air during the same primetime in difference channel. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review | |
dc.page | 41-55. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
mba8n1p41-55.pdf | 1.6 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น