กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2669
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิสาตรี คงเจริญสุนทร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:18:44Z
dc.date.available2019-03-25T09:18:44Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2669
dc.description.abstractเทโลเมียร์คือ สายนิวคลีโอไทด์สั้น ๆ ที่มีองค์ประกอบของเบสกวานีนในปริมาณมากซ้ำ ๆ กันไม่ต่ำกว่าหนึ่งร้อยครั้ง พบบริเวณปลายของโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตชั้นสูง เทโลเมียร์สังเคราะห์จากเอ็นไซม์เทโลเมอเรส ซึ่งคือเอนไซม์ประเภทเดียวกับเอ็นไซม์รีเวิสทรานสคริปเทสที่พบในไวรัสเอชไอวี เอ็นไซม์เทโลเมอเรสมีหน้าที่ควบคุมกลไกการแบ่งเซลล์แบบไมโอซีสและไมโตซีส พบว่าส่วนของเทโลเมียร์บริเวณปลายโครโมโซมจะสั้นลงทุกครั้งที่เซลล์แบ่งตัวทำให้มีการขาดหายของสารพันธุกรรมทุกครั้งที่เซลล์แบ่งตัว เข้าใจว่าความสั้นยาวของส่วนเทโทเมียร์มีบทบาทในโปรแกรมควบคุมความตายของมนุษย์ (apoptosis) มีหลักฐานพบว่าการทำงานของเอ็นไซม์เทโลเมอเรสจะสูงมากและสายเทโลเมียร์จะสั้นลงในเซลล์มะเร็งหลายชนิด เช่น เซลล์มะเร็งตับ เซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่ ในอนาคตอาจจะมีการนำเอ็นไซม์เทโลเมอเรสและเทโลมียร์มาใช้รักษาโรคมะเร็งหลายชนิด ถ้าสามารถจะกระตุ้นให้เอ็นไซม์เทโลเมอเรสทำงานมากขึ้นซึ่งส่งผลให้สายเทโลเมียร์ที่ปลายโครโมโซมยาวขึ้นเพื่อปกป้องการขาดหายของโครโมโซมทุกครั้งที่เซลล์แบ่งตัวth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.subjectเทโลเมอเรสth_TH
dc.subjectเอนไซม์เทโลเมียร์th_TH
dc.subjectโครโมโซมth_TH
dc.titleเทโลเมอเรสและการควบคุมการทำงานของเอ็นไซม์เทโลเมียร์th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume2
dc.year2545
dc.description.abstractalternativeTelomere is a short repeated sequence with G-rich residues, localized at the end of chromosome. Telomeres are synthesized by telomerase which is a reverse transcriptase. Many models described how telomere length is regulated such as available of TBP, the limiting number of repeated units in each cell division and the control of both TBP and its accessory proteins. Telomere and telomerase play a pivotal role in senescence especially in the somatic cells with a high degree of cellular turnover. The increased activity of telomerase have been found in many carcinoma cell lines such as human ovarian carcinomal, hepatocellular, colorectal carcinomal cell lines. Also cancer cells with long telomeres and a high telomerase activity can contribute in a high proloferative activity that could survive under anti-cancer drug treatment.en
dc.journalวารสารวิชาการสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Academic journal, Faculty Senate Council of Burapha University
dc.page87-94.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
87-94.pdf84.8 kBAdobe PDFดู/เปิด
87-94.pdf84.8 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น